ไปเห็นในเวปของศูนย์วิจัยเทคโนโลยีระบบรางและการขนส่งสมัยใหม่ (RMT) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในหน้าเกี่ยวกับงานวิจัย
https://www.nstda.or.th/rmt/research/ ก็ไปเจองานวิจัยอันนี้ "การพัฒนาเทคโนโลยีขับขี่อัตโนมัติที่เหมาะกับการใช้งานภายใต้สภาพเงื่อนไขประเทศไทย"
เห็นหน่วยงานความร่วมมือก็มีบริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด ด้วยไม่ได้มีแต่หน่วยงานรัฐอย่างเดียว ไม่รู้ว่าถ้างานวิจัยอันนี้เสร็จสมบูรณ์เราจะได้เห็นรถอัตโนมัติจากพนัสหรือเปล่าก็ไม่รู้
ส่วนอันนี้เป็นงานวิจัยส่วนนึงที่เกี่ยวกับการพัฒนายานยนต์อัตโนมัติ เผยแพร่เมื่อปีที่แล้ว มีนาคม 2564 ชื่องานวิจัยคือ "ยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติเพื่อการขนส่งสาธารณะในพื้นที่ปิด" เป็นการทำรถกอล์ไฟฟ้าแบบ 6 ที่นั่งให้เป็นรถที่ขับเคลื่อนอัตโนมัติเนื่องจากมีความสลับซับซ้อนของระบบขับเคลื่อนน้อย และสามารถขับเคลื่อนด้วยความเร็วไม่เกิน 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นเทคโนโลยียานยนต์ขับขี่อัตโนมัติระดับ 3 (Autonomous Driving Technology Level#3)
ตัวระบบของรถก็มี
- ระบบ Drive-By-Wire หรือเรียกว่าระบบควบคุมสั่งงานการขับขี่ (พวงมาลัย เบรก และคันเร่ง) ซึ่งจะสื่อสารด้วย Protocol CAN BUS
- ระบบนำทางอัตโนมัติ ในโครงการนี้ได้เลือกใช้เซ็นเซอร์นำทางแบบ Light Detection and Ranging (LiDAR) ที่ทำงานควบคู่กับ High Density Map แบบ 3 มิติ ที่จะต้องเตรียมการจัดทำไว้ล่วงหน้า รวมทั้งมี Global Navigation Satellite System (GNSS) Receiver ติดตั้งไว้บนตัวรถ เพื่อใช้รับสัญญาณจากดาวเทียมระบุตำแหน่งตัวรถบนพื้นผิวโลกที่ทำงานร่วมกับ CORS Station เพื่อให้ได้ความแม่นยำในการระบุตำแหน่งของตัวรถในระดับเซ็นติเมตร ณ เวลาจริง โดยมีเซ็นเซอร์ตรวจจับสิ่งกีดขวางรอบตัวรถเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุการชนของยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติกับสิ่งมีชีวิตมนุษย์ และวัตถุต่างๆ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองความปลอดภัยให้กับผู้ใช้รถใช้ถนนอื่นๆ
- ระบบจัดการฝูงรถ (Fleet Management System) ทำหน้าที่สื่อสารกับระบบนำทางอัตโนมัติของรถ โดยในโครงการนี้ได้ทดลองรถขับขี่อัตโนมัติเพียง 1 คัน ระบบดังกล่าวจึงจำกัดอยู่เพียง Application Program สำหรับค้นหาตำแหน่งรถ และเรียกรถให้มารับผู้โดยสารผ่านโทรศัพท์มือถือเท่านั้น
อันนี้เป็นคลิปเกี่ยวกับการทดสอบรถเอาไปทดสอบวิ่งในโครงการของแสนสิริ
อันนี้เป็นคลิปการนำเสนองานวิจัย
เอกสารเผยแพร่
https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/nac/2021/energy02.pdf
ไฟล์presentation
https://www.nstda.or.th/nac/2021/wp-content/uploads/2021/03/NAC2021_AutonomousGolfCar.pdf
หน้างานวิจัย
https://www.nstda.or.th/nac/2021/2021/03/05/energy02-autonomous-golf-cart/
ก็มาดูกันว่างานวิจัยยานยนต์อัตโนมัติของไทยจะไปได้ขนาดไหน
ถ้าใครสนใจเทคโนโลยีนี้สามารถติดต่อสอบถามได้ที่
ดร. จาตุวัฒน์ ราชเรืองระบิน
ทีมวิจัยเทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อการขนส่ง
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีระบบรางและการขนส่งสมัยใหม่
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์: 025646500 ต่อ 4734
E-mail: jartuwat.raj@nstda.or.th
พึ่งมาเห็นว่าไทยมีตั้งเป้าวิจัยรถอัตโนมัติไม่รู้ว่าจะไปได้ไกลขนาดไหน
เห็นหน่วยงานความร่วมมือก็มีบริษัท พนัส แอสเซมบลีย์ จำกัด ด้วยไม่ได้มีแต่หน่วยงานรัฐอย่างเดียว ไม่รู้ว่าถ้างานวิจัยอันนี้เสร็จสมบูรณ์เราจะได้เห็นรถอัตโนมัติจากพนัสหรือเปล่าก็ไม่รู้
ส่วนอันนี้เป็นงานวิจัยส่วนนึงที่เกี่ยวกับการพัฒนายานยนต์อัตโนมัติ เผยแพร่เมื่อปีที่แล้ว มีนาคม 2564 ชื่องานวิจัยคือ "ยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติเพื่อการขนส่งสาธารณะในพื้นที่ปิด" เป็นการทำรถกอล์ไฟฟ้าแบบ 6 ที่นั่งให้เป็นรถที่ขับเคลื่อนอัตโนมัติเนื่องจากมีความสลับซับซ้อนของระบบขับเคลื่อนน้อย และสามารถขับเคลื่อนด้วยความเร็วไม่เกิน 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นเทคโนโลยียานยนต์ขับขี่อัตโนมัติระดับ 3 (Autonomous Driving Technology Level#3)
ตัวระบบของรถก็มี
- ระบบ Drive-By-Wire หรือเรียกว่าระบบควบคุมสั่งงานการขับขี่ (พวงมาลัย เบรก และคันเร่ง) ซึ่งจะสื่อสารด้วย Protocol CAN BUS
- ระบบนำทางอัตโนมัติ ในโครงการนี้ได้เลือกใช้เซ็นเซอร์นำทางแบบ Light Detection and Ranging (LiDAR) ที่ทำงานควบคู่กับ High Density Map แบบ 3 มิติ ที่จะต้องเตรียมการจัดทำไว้ล่วงหน้า รวมทั้งมี Global Navigation Satellite System (GNSS) Receiver ติดตั้งไว้บนตัวรถ เพื่อใช้รับสัญญาณจากดาวเทียมระบุตำแหน่งตัวรถบนพื้นผิวโลกที่ทำงานร่วมกับ CORS Station เพื่อให้ได้ความแม่นยำในการระบุตำแหน่งของตัวรถในระดับเซ็นติเมตร ณ เวลาจริง โดยมีเซ็นเซอร์ตรวจจับสิ่งกีดขวางรอบตัวรถเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุการชนของยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติกับสิ่งมีชีวิตมนุษย์ และวัตถุต่างๆ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองความปลอดภัยให้กับผู้ใช้รถใช้ถนนอื่นๆ
- ระบบจัดการฝูงรถ (Fleet Management System) ทำหน้าที่สื่อสารกับระบบนำทางอัตโนมัติของรถ โดยในโครงการนี้ได้ทดลองรถขับขี่อัตโนมัติเพียง 1 คัน ระบบดังกล่าวจึงจำกัดอยู่เพียง Application Program สำหรับค้นหาตำแหน่งรถ และเรียกรถให้มารับผู้โดยสารผ่านโทรศัพท์มือถือเท่านั้น
อันนี้เป็นคลิปเกี่ยวกับการทดสอบรถเอาไปทดสอบวิ่งในโครงการของแสนสิริ
อันนี้เป็นคลิปการนำเสนองานวิจัย
เอกสารเผยแพร่ https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/nac/2021/energy02.pdf
ไฟล์presentation https://www.nstda.or.th/nac/2021/wp-content/uploads/2021/03/NAC2021_AutonomousGolfCar.pdf
หน้างานวิจัย
https://www.nstda.or.th/nac/2021/2021/03/05/energy02-autonomous-golf-cart/
ก็มาดูกันว่างานวิจัยยานยนต์อัตโนมัติของไทยจะไปได้ขนาดไหน
ถ้าใครสนใจเทคโนโลยีนี้สามารถติดต่อสอบถามได้ที่
ดร. จาตุวัฒน์ ราชเรืองระบิน
ทีมวิจัยเทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อการขนส่ง
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีระบบรางและการขนส่งสมัยใหม่
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์: 025646500 ต่อ 4734
E-mail: jartuwat.raj@nstda.or.th