ไทยเราเป็นประเทศ ทางด้านการท่องเที่ยว มี เที่ยวบินเข้าออกเป็นจำนวนมาก.... ครับ
เทคโนโลยี่การผลิตซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากต่างชาติก็ ครบถ้วน ทำให้มี สถาบันการศึกษา ที่เปิดสอน การผลิตเครื่องบินนิครับ...
ผมว่านะไทยเราสามารถผลิต เครื่องบิน BRAND ตัวเองใช้เองได้ เหมือน เครื่องบิน Airbus หรือ โบอิ้ง ( The Boeing Company) เป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์อากาศยาน และ สามารถพัฒนาต่อเนื่อง ส่งไปขายต่างประเทศได้ และที่สำคัญ คือ ระบบการศึกษาของไทยในระดับ มหาวิทยาลัย ที่มี สาขา ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ก็มีหลายแห่งนะครับ เช่น
สถาบันการบินพลเรือน (ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (4 ปี) (Bachelor of Engineering: วศ.บ.) สาขาวิชา
อิเล็กทรอนิกส์การบิน (Aviation Engineering program : AEE)
>>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (Department of Aerospace Engineering) ระดับปริญญาตรี และ โท
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต(วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ( Bachelor of
Engineering Program in Aerospace Engineering )
Science Program in Aviation Technology Management )
- ระดับปริญญาโทมี 1 หลักสูตรคือ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วศ.ม.) สาขาวิชา
วิศวกรรมการบินและอวกาศ ( Master of Engineering Program in Aerospace Engineering)
>>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต(วศ.บ.) วิศวกรรมอากาศยาน (Bachelor of Engineering program in Aerospace Engineering (International Program))
>>มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (Aerospace
Engineering)
>>มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต(วศ.บ.) นานาชาติ (TU-UNSW) อยู่ใน Mechanical Engineering - Aerospace
>>มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต(วศ.บ.) ภาควิชาวิศวกรรมการบิน(Aeronautic Engineering) แบ่งออกเป็น 3 สาขาคือ
วิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน Aircraft Maintenan
+++ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมการบิน
ผมว่าวิทยาการ วิชาการสมัยใหม่ ก็น่าจะมีอยู่มากๆๆ นะครับ แต่แล้ว อุปสรรคที่แท้จริงของอุตสาหกรรม เครื่องบิน ของไทยคืออะไรกันแน่ครับ ขอบคุณมากๆๆ ครับ...
ประเทศไทยเราสามารถที่จะผลิตเครื่องบินโดยสารที่เป็นยี่ห้อ brand ของไทยเราเองได้หรือยังครับ
เทคโนโลยี่การผลิตซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากต่างชาติก็ ครบถ้วน ทำให้มี สถาบันการศึกษา ที่เปิดสอน การผลิตเครื่องบินนิครับ...
ผมว่านะไทยเราสามารถผลิต เครื่องบิน BRAND ตัวเองใช้เองได้ เหมือน เครื่องบิน Airbus หรือ โบอิ้ง ( The Boeing Company) เป็นบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์อากาศยาน และ สามารถพัฒนาต่อเนื่อง ส่งไปขายต่างประเทศได้ และที่สำคัญ คือ ระบบการศึกษาของไทยในระดับ มหาวิทยาลัย ที่มี สาขา ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ก็มีหลายแห่งนะครับ เช่น
สถาบันการบินพลเรือน (ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (4 ปี) (Bachelor of Engineering: วศ.บ.) สาขาวิชา
อิเล็กทรอนิกส์การบิน (Aviation Engineering program : AEE)
>>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (Department of Aerospace Engineering) ระดับปริญญาตรี และ โท
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต(วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ( Bachelor of
Engineering Program in Aerospace Engineering )
Science Program in Aviation Technology Management )
- ระดับปริญญาโทมี 1 หลักสูตรคือ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วศ.ม.) สาขาวิชา
วิศวกรรมการบินและอวกาศ ( Master of Engineering Program in Aerospace Engineering)
>>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต(วศ.บ.) วิศวกรรมอากาศยาน (Bachelor of Engineering program in Aerospace Engineering (International Program))
>>มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
- หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (Aerospace
Engineering)
>>มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต(วศ.บ.) นานาชาติ (TU-UNSW) อยู่ใน Mechanical Engineering - Aerospace
>>มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต(วศ.บ.) ภาควิชาวิศวกรรมการบิน(Aeronautic Engineering) แบ่งออกเป็น 3 สาขาคือ
วิชาเอกซ่อมบำรุงอากาศยาน Aircraft Maintenan
+++ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมการบิน
ผมว่าวิทยาการ วิชาการสมัยใหม่ ก็น่าจะมีอยู่มากๆๆ นะครับ แต่แล้ว อุปสรรคที่แท้จริงของอุตสาหกรรม เครื่องบิน ของไทยคืออะไรกันแน่ครับ ขอบคุณมากๆๆ ครับ...