หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
[กระทู้สนทนา] วิวัฒนาการและประวัติความเป็นมาของถนนในประเทศไทย ภาค 1 (ถนนสายรองหรือถนนสายย่อย)
กระทู้สนทนา
การจราจร
กรมทางหลวงชนบท
กระทรวงคมนาคม
กรมทางหลวง
กระทรวงมหาดไทย
สวัสดีครับเพื่อนสมาชิกพันทิปทุกๆ คน เป็นกระทู้ที่ไม่ค่อยพูดถึงกันบ่อยมากเท่าไหร่นัก คือถนน การคมนาคม ในประเทศไทย ทางหลวงหรือเรียกสั้นๆ ว่าถนน วันนี้เพื่อเป็นการเสียเวลางั้นเรามาเข้าเรื่องกันเลยดีกว่าครับ
ความเป็นมาและวิวัฒนาการ:
ถนนสายรองหรือถนนสายย่อยที่เชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านในอดีตที่เรารู้จักก็คือถนนโยธาธิการ (ยธ.) และถนนเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) นั่นเอง สำหรับที่มาถนนของทั้ง 2 หน่วยงานนี้คือกรมโยธาธิการ (2432-2545) เริ่มก่อตั้งปี 2432 ในสมัย ร.5 ในชื่อกระทรวงโยธาธิการ กรมโยธาเทศบาล สมัย ร.8 และปี 2515 สมัย ร.9 เปลี่ยนชื่อเป็นกรมโยธาธิการอีกครั้ง และสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทหรือ รพช. (2509-2545) เริ่มก่อตั้งครั้งแรกปี 2509 สังกัดสำนักนายกรัฐมตรีต่อมาได้โอนย้ายหน่วยงานนี้จากสังกัดสำนักนายกรัฐมตรีไปอยู่สังกัดกระทรวงมหาดไทยในตั้งแต่ปี 2515 และต่อมาในปี 2543 ได้เปลี่ยนชื่อและยกฐานะจากสำนักงานเป็นหน่วยงานระดับกรมจนกระทั่ง ยธ. และ รพช. ถูกยุบไปพร้อมๆ กันในปี 2545 ปัจจุบันในชื่อกรมทางหลวงชนบท (ทช.) กรมโยธาธิการและผังเมือง (ยผ.) และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัย (ปภ.)
ในปัจจุบันถนนเหล่านี้ของหน่วยงานเดิมทั้ง 2 หน่วยงานได้ถูกถ่ายโอนส่งความรับผิดชอบไปให้ท้องถิ่น (อปท.) เป็นผู้ดูแลแล้ว และนำสายทางเข้ามาบางส่วนที่มีลักษณะความเหมาะสมเป็นโครงข่ายถนนของ ทช. ถนนของเมืองไทยในอดีตช่วงยุค 80,90 รู้จักกับถนนของทั้ง 2 หน่วยงานในสมัยนั้นเป็นอย่างดี มีภาพประกอบและภาพประกอบบางส่วนเอามาจากอินเตอร์เน็ตและแคปภาพจาก Google Streetview
1. ทางหลวงชนบท กรมโยธาธิการ เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
2. ทางหลวงชนบทของเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ถนนของหน่วยงานนี้ที่เรารู้จักกันดีและเป็นที่ได้ยินชื่อกันบ่อยมากนั่นคือ "รพช." เป็นหน่วยงานลำดับที่ 2 สังกัดกระทรวงมหาดไทย ปกติเราก็จะเห็นป้ายแบบนี้ตามภาพประกอบต่างๆ ที่แปะไว้ในกระทู้นี้ติดตั้งตรงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของสายทาง
3. ทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบท
ตัวอย่างป้าย น.1 สำหรับทางหลวงชนบท (สข.1001)
ตัวอย่างป้าย น.1/1 สำหรับทางหลวงชนบท (สข.1001)
4. ทางหลวงท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เช่น อบจ. อบต. เทศบาล กทม. เมืองพัทยา มีทั้งถนนที่ อปท. เป็นผู้รับผิดชอบและถนนที่ได้รับถ่ายโอนมาจากหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมทางหลวงชนบท กรมโยธาธิการ กรมทางหลวง กรมชลประทาน สนง.ปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.) ฯลฯ
ตัวอย่างป้าย น.1 สำหรับทางหลวงท้องถิ่น (อบจ.สงขลา)
ตัวอย่างป้าย น.1/1 สำหรับทางหลวงท้องถิ่น (อบจ.สงขลา)
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2#%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%97
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2#%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99
https://th.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B3
นี่ก็ข้อมูลคร่าวๆ เกี่ยวกับความเป็นมาและวิวัฒนาการของถนนในประเทศไทย ถ้าหากข้อมูลบางส่วนอาจจะไม่เยอะหรือบางข้อมูลไม่ครบเพราะว่าส่วนใหญ่กระผมจะสืบค้นหาข้อมูลมาจากในอินเตอร์เน็ตเป็นหลักอยู่แล้ว คราวหน้าเกี่ยวกับความเป็นมาและวิวัฒนาการของถนนในประเทศไทยมาฝากกันอีกในกระทู้ภาค 2 และมีภาคต่อไปอีกเรื่อยๆ เชิญเข้ามาเม้นท์แสดงความคิดเห็นกันตามอัธยาศัยได้เลย สวัสดี.
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
ถนนหน้าบ้าน ยังเป็นทางลูกรังแดงๆ ต้องไปติดต่อหน่วยงานไหนครับ
ถนนริมคลอง บริเวณอื่นๆก็ทำหมดแล้ว แต่เว้นช่วงหน้าบ้านผม รวมระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ใกล้ๆบ้านผมมีซอย เทปูนตั้งแต่ทางเข้าซอยจนสุด มีป้ายโครงการติด มีชื่อซอย แต่ถนนหน้าปากซอยไม่ทำ ผมไม่เข้าใจทำไมทำในซอย
สมาชิกหมายเลข 4199069
ขอถามเรื่องเกี่ยวกับถนนของ รพช. และโยธาธิการหน่อยครับ
การสัญจรถนนคือสิ่งสำคัญที่เอาไว้ใช้ในการสัญจรเดินทางเพื่อความสะดวกสะบาย ในสมัยก่อนยุคที่ยังไม่มีสื่งอำนวยความสะดวกเข้าถึงโดยเฉพาะถนนตามหมู่บ้านต่างๆ ในประเทศไทยมีสภาพถนนเป็นดินลูกรังซึ่งยากต่อการสัญจร
สมาชิกหมายเลข 3838503
ทำไมจังหวัดในเขตปริมณฑลยังมี อบต.อยู่ ทั้งๆที่น่ายกระดับเป็นเทศบาลได้ทั้งหมด
ทำไมจังหวัดในเขตปริมณฑลยังมี อบต.หลงเหลืออยู่ครับ เช่น อบต.ราชาเทวะ สมุทรปราการ อบต.บางบัวทอง นนทุบรีที่น่ารวมกันเป็นเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนครได้เลย สมุทรปราการ สามารถเป็นเทศบาลเมืองและเทศบาลนครได้ทั้ง
สมาชิกหมายเลข 5718012
ถามเกี่ยวกับเรื่องของหมายเลขรหัสสายทางถนนของ อปท. (อบจ.) หน่อยครับ
ผมอยากจะถามเกี่ยวกับเรื่องของหมายเลขรหัสสายทางสำหรับถนนของ อปท. (อบจ.) หน่อยได้ไหมมีดังนี้นะครับ ถนนของ อบจ. ในปัจจุบันมีอยู่ทั้งหมดทุกเส้นทางทั่วประเทศไทยตามภาคและจังหวัดต่างๆ เป็นถนนถ่ายโอนโดยนับรว
สมาชิกหมายเลข 3838503
อยากจะทราบที่มาของคำว่า "ถนนสายนี้กรมทางหลวงชนบทส่งมอบให้ อบจ. อบต. เทศบาล" หน่อยครับ
อยากจะทราบที่มาและทำไมถนนถ่ายโอนให้ อปท. ถึงต้องมีคำว่า "ถนนสายนี้กรมทางหลวงชนบทส่งมอบให้ อบจ. อบต. เทศบาล" หรือบางภาคและบางจังหวัดอาจจะใช้ชื่อข้อความบ่งบอกถึงการถ่ายโอนถนนให้ อปท. ที่ข้อควา
สมาชิกหมายเลข 3838503
[กระทู้สนทนา] วิวัฒนาการและประวัติความเป็นมาของถนนในประเทศไทย ภาค 2 (ถนนภายในหมู่บ้าน)
สวัสดีครับ ต่อจากกระทู้แรก เรื่องราวเกี่ยวกับวิวัฒนาการและประวัติความเป็นมาของถนนในประเทศไทย ภาค 1 (ถนนสายรองหรือถนนสายย่อย) ได้รับสาระและความรู้เป็นอย่างมากเลย กระทู้นี้เป็นกระทู้ที่ 2 แต่จะเป็นเรื่อ
สมาชิกหมายเลข 3838503
อยากจะรู้เรื่องเกี่ยวกับเครื่องหมายจราจรจำกัดน้ำหนักหน่อยครับ
ถนนในประเทศไทยมันจะต้องอีกสิ่งอย่างหนึ่งที่ผู้ใช้รถใช้ถนนจะต้องปฏิบัติตามกันคือเครื่องหมายจราจรนั่นเอง เครื่องหมายจราจรหรือป้ายจราจรมีการแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทได้แก่ ๑. ประเภทบังคับและ ๒. ประเภทเตือน โด
สมาชิกหมายเลข 3838503
เปิดแล้วถนนหลวงภูเขาใหม่ 74 กม. เชื่อม เชียงใหม่-ตาก
วันที่ 30 มีนาคม 2565 นายธงไชย ชมถนอม ผู้อำนวยการแขวงทางหลวงชนบทตาก แจ้งว่า กรมทางหลวงชนบท(ทช.) กรมทางหลวงชนบท ได้ดำเนินการก่อสร้างท
ตะพานหิน
ถามช่างโยธา อบต เทศบาล ว่าพอจะมีถนนตัวอย่างที่พอจะสู้กะกรมทางหลวงได้บ้างมั้ย
มีคนดีเขาเข้าใจว่างี้ "การกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นซ่อมถนน ตรงนี้ถือเป็นความซวย เพราะเมื่อให้ท้องถิ่นซ่อมถนน ระหว่างหมู่บ้านก็จะได้ถนนที่เละที่สุด และเป็นปัญหาที่แก้ไขไม่ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับถนนขอ
CIVILBOYNU
รถจักรยานยนน้ำมันหมด มีที่ไหนสามารถช่วยได้มั่งครับ
พอดีโทรไปเบอร์191 ท่านทำน้ำเสียงไม่ค่อยดีใส่ เหตุเกิดจากเราหาปั้มเติมน้ำมันไม่ได้ เส้นสระแก้วเข้ากบินทร์ ปั้มน้ำมันปิดหมดเลย มี่ที่ไหนที่พอพึ่งได้มั่งครับ
สมาชิกหมายเลข 8119412
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
การจราจร
กรมทางหลวงชนบท
กระทรวงคมนาคม
กรมทางหลวง
กระทรวงมหาดไทย
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ : 1
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
[กระทู้สนทนา] วิวัฒนาการและประวัติความเป็นมาของถนนในประเทศไทย ภาค 1 (ถนนสายรองหรือถนนสายย่อย)
ความเป็นมาและวิวัฒนาการ:
ถนนสายรองหรือถนนสายย่อยที่เชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านในอดีตที่เรารู้จักก็คือถนนโยธาธิการ (ยธ.) และถนนเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) นั่นเอง สำหรับที่มาถนนของทั้ง 2 หน่วยงานนี้คือกรมโยธาธิการ (2432-2545) เริ่มก่อตั้งปี 2432 ในสมัย ร.5 ในชื่อกระทรวงโยธาธิการ กรมโยธาเทศบาล สมัย ร.8 และปี 2515 สมัย ร.9 เปลี่ยนชื่อเป็นกรมโยธาธิการอีกครั้ง และสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทหรือ รพช. (2509-2545) เริ่มก่อตั้งครั้งแรกปี 2509 สังกัดสำนักนายกรัฐมตรีต่อมาได้โอนย้ายหน่วยงานนี้จากสังกัดสำนักนายกรัฐมตรีไปอยู่สังกัดกระทรวงมหาดไทยในตั้งแต่ปี 2515 และต่อมาในปี 2543 ได้เปลี่ยนชื่อและยกฐานะจากสำนักงานเป็นหน่วยงานระดับกรมจนกระทั่ง ยธ. และ รพช. ถูกยุบไปพร้อมๆ กันในปี 2545 ปัจจุบันในชื่อกรมทางหลวงชนบท (ทช.) กรมโยธาธิการและผังเมือง (ยผ.) และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัย (ปภ.)
ในปัจจุบันถนนเหล่านี้ของหน่วยงานเดิมทั้ง 2 หน่วยงานได้ถูกถ่ายโอนส่งความรับผิดชอบไปให้ท้องถิ่น (อปท.) เป็นผู้ดูแลแล้ว และนำสายทางเข้ามาบางส่วนที่มีลักษณะความเหมาะสมเป็นโครงข่ายถนนของ ทช. ถนนของเมืองไทยในอดีตช่วงยุค 80,90 รู้จักกับถนนของทั้ง 2 หน่วยงานในสมัยนั้นเป็นอย่างดี มีภาพประกอบและภาพประกอบบางส่วนเอามาจากอินเตอร์เน็ตและแคปภาพจาก Google Streetview
1. ทางหลวงชนบท กรมโยธาธิการ เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
2. ทางหลวงชนบทของเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ถนนของหน่วยงานนี้ที่เรารู้จักกันดีและเป็นที่ได้ยินชื่อกันบ่อยมากนั่นคือ "รพช." เป็นหน่วยงานลำดับที่ 2 สังกัดกระทรวงมหาดไทย ปกติเราก็จะเห็นป้ายแบบนี้ตามภาพประกอบต่างๆ ที่แปะไว้ในกระทู้นี้ติดตั้งตรงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของสายทาง
3. ทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบท
ตัวอย่างป้าย น.1 สำหรับทางหลวงชนบท (สข.1001)
ตัวอย่างป้าย น.1/1 สำหรับทางหลวงชนบท (สข.1001)
4. ทางหลวงท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เช่น อบจ. อบต. เทศบาล กทม. เมืองพัทยา มีทั้งถนนที่ อปท. เป็นผู้รับผิดชอบและถนนที่ได้รับถ่ายโอนมาจากหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมทางหลวงชนบท กรมโยธาธิการ กรมทางหลวง กรมชลประทาน สนง.ปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.) ฯลฯ
ตัวอย่างป้าย น.1 สำหรับทางหลวงท้องถิ่น (อบจ.สงขลา)
ตัวอย่างป้าย น.1/1 สำหรับทางหลวงท้องถิ่น (อบจ.สงขลา)
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2#%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%97
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2#%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99
https://th.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B3
นี่ก็ข้อมูลคร่าวๆ เกี่ยวกับความเป็นมาและวิวัฒนาการของถนนในประเทศไทย ถ้าหากข้อมูลบางส่วนอาจจะไม่เยอะหรือบางข้อมูลไม่ครบเพราะว่าส่วนใหญ่กระผมจะสืบค้นหาข้อมูลมาจากในอินเตอร์เน็ตเป็นหลักอยู่แล้ว คราวหน้าเกี่ยวกับความเป็นมาและวิวัฒนาการของถนนในประเทศไทยมาฝากกันอีกในกระทู้ภาค 2 และมีภาคต่อไปอีกเรื่อยๆ เชิญเข้ามาเม้นท์แสดงความคิดเห็นกันตามอัธยาศัยได้เลย สวัสดี.