เเฟนบาสคงจะได้ยินคําว่า waived อยู่บ่อยๆ เเละสงสัยว่ามันเเตกต่างจาก buyout ยังไง
การ buyout เป็นการบอกเลิกสัญญาโดยที่ทีมเเละผู้เล่นต้องยินยอมพร้อมใจกันถึงจะยกเลิกสัญญาได้โดยจะมีการจ่ายเงินมาให้ใช้ฟรีๆ โดยที่ไม่ต้องลงอีกเเละจะปล่อยให้เป็นอิสระไปเซ็นกับทีมอื่นได้เเต่ผู้เล่นก็ต้องตอบเเทนด้วยการยอมลดค่าเหนื่อยที่ควรจะได้รับลงมาส่วนนึงด้วย
ส่วน waiver คือการบอกเลิกสัญญาฝ่ายเดียวโดยที่ไม่จําเป็นต้องขอความยินยอมจากอีกฝ่าย ทีมสามารถตัดชื่อผู้เล่นออกได้เลยเเต่ก็ต้องเเลกกับจ่ายค่าเหนื่อยที่คงค้างเเบบเต็มจํานวนเเละจะไม่ได้รับส่วนลดใดๆ ซึ่งเเตกต่างจากการ buyout
คนที่มีสัญญาราคาเเพงที่ทีมไม่ต้องการเเละหาที่รับโละไม่ได้มักจะถูก buyout ส่วนวิธี waive จะเหมาะกับคนที่มีค่าเหนื่อยถูกเเบบตัดทิ้งได้ง่ายๆ ขนหน้าเเข้งไม่ร่วงมากเช่นพวกที่มีค่าเหนื่อยหลักเเสนหรือไม่กี่ล้าน
การ waive จะทําได้รวดเร็วกว่าเพราะไม่จําเป็นต้องไปเจรจาอะไรเลยเหมาะที่จะเอามาใช้เวลาที่ต้องการทําอะไรเเบบรวดเร็วเพราะการเจรจา buyout มักจะกินเวลานานเป็นเดือนๆ
เวลาทีมไหนมี roster เกินโควต้า 15 คนก็มักจะมีการตัดชื่อส่วนเกินออกซึ่งคนที่โชคร้ายถูก waived ทิ้งมักจะเป็นพวกโนเนมที่ไม่ค่อยมีความสําคัญ ซึ่งหลังจากที่ถูก waived พวกเขาก็ต้องรอ clear waivers ให้ครบ 48 ชั่วโมงก่อน หลังจากนั้นก็จะเป็น free agent หาทีมใหม่เซ็นได้เเต่จะกลับไปเซ็นกับทีมที่เพิ่ง waived หรือ buyout พวกเขาออกมาไม่ได้เป็นเวลา 1 ปีหรือจนกว่าสัญญาฉบับนั้นจะหมดอายุ (ขึ้นอยู่กับว่าอันไหนนานกว่ากัน)
ทีมตลาดเล็กมักจะมองว่าตลาด buyout ไม่เเฟร์กับพวกเขาเพราะตัวดังๆ เช่น Blake Griffin มักจะเลือกย้ายไปเล่นให้กับทีมใหญ่ที่มีลุ้นเเชมป์เท่านั้น มันทําให้ทีมตลาดใหญ่ได้ของดีราคาถูกโดยไม่ต้องลงทุน
ถึงเเม้ว่าตลาด buyout จะเซ็นได้ตลอดฤดูกาลปกติเเต่คนที่ต้องการลงรอบ playoff ต้องเซ็นกับทีมก่อนต้นเดือนเมษาเท่านั้น ไม่งั้นจะลงสนามได้จนถึงเเค่วันปิดฤดูกาลปกติ
Credit: Hoopsbeast
🏀 เปรียบเทียบการ buyout กับ waiver
การ buyout เป็นการบอกเลิกสัญญาโดยที่ทีมเเละผู้เล่นต้องยินยอมพร้อมใจกันถึงจะยกเลิกสัญญาได้โดยจะมีการจ่ายเงินมาให้ใช้ฟรีๆ โดยที่ไม่ต้องลงอีกเเละจะปล่อยให้เป็นอิสระไปเซ็นกับทีมอื่นได้เเต่ผู้เล่นก็ต้องตอบเเทนด้วยการยอมลดค่าเหนื่อยที่ควรจะได้รับลงมาส่วนนึงด้วย
ส่วน waiver คือการบอกเลิกสัญญาฝ่ายเดียวโดยที่ไม่จําเป็นต้องขอความยินยอมจากอีกฝ่าย ทีมสามารถตัดชื่อผู้เล่นออกได้เลยเเต่ก็ต้องเเลกกับจ่ายค่าเหนื่อยที่คงค้างเเบบเต็มจํานวนเเละจะไม่ได้รับส่วนลดใดๆ ซึ่งเเตกต่างจากการ buyout
คนที่มีสัญญาราคาเเพงที่ทีมไม่ต้องการเเละหาที่รับโละไม่ได้มักจะถูก buyout ส่วนวิธี waive จะเหมาะกับคนที่มีค่าเหนื่อยถูกเเบบตัดทิ้งได้ง่ายๆ ขนหน้าเเข้งไม่ร่วงมากเช่นพวกที่มีค่าเหนื่อยหลักเเสนหรือไม่กี่ล้าน
การ waive จะทําได้รวดเร็วกว่าเพราะไม่จําเป็นต้องไปเจรจาอะไรเลยเหมาะที่จะเอามาใช้เวลาที่ต้องการทําอะไรเเบบรวดเร็วเพราะการเจรจา buyout มักจะกินเวลานานเป็นเดือนๆ
เวลาทีมไหนมี roster เกินโควต้า 15 คนก็มักจะมีการตัดชื่อส่วนเกินออกซึ่งคนที่โชคร้ายถูก waived ทิ้งมักจะเป็นพวกโนเนมที่ไม่ค่อยมีความสําคัญ ซึ่งหลังจากที่ถูก waived พวกเขาก็ต้องรอ clear waivers ให้ครบ 48 ชั่วโมงก่อน หลังจากนั้นก็จะเป็น free agent หาทีมใหม่เซ็นได้เเต่จะกลับไปเซ็นกับทีมที่เพิ่ง waived หรือ buyout พวกเขาออกมาไม่ได้เป็นเวลา 1 ปีหรือจนกว่าสัญญาฉบับนั้นจะหมดอายุ (ขึ้นอยู่กับว่าอันไหนนานกว่ากัน)
ทีมตลาดเล็กมักจะมองว่าตลาด buyout ไม่เเฟร์กับพวกเขาเพราะตัวดังๆ เช่น Blake Griffin มักจะเลือกย้ายไปเล่นให้กับทีมใหญ่ที่มีลุ้นเเชมป์เท่านั้น มันทําให้ทีมตลาดใหญ่ได้ของดีราคาถูกโดยไม่ต้องลงทุน
ถึงเเม้ว่าตลาด buyout จะเซ็นได้ตลอดฤดูกาลปกติเเต่คนที่ต้องการลงรอบ playoff ต้องเซ็นกับทีมก่อนต้นเดือนเมษาเท่านั้น ไม่งั้นจะลงสนามได้จนถึงเเค่วันปิดฤดูกาลปกติ
Credit: Hoopsbeast