ปรอทและโรคออทิซึม : หลักฐานที่เพิ่มมากขึ้น ?

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

ปรอทและโรคออทิซึม : หลักฐานที่เพิ่มมากขึ้น ?

สาเหตุของโรคออทิซึมและปัญหาพัฒนาการทางสมองยังไม่ถูกค้นพบ (ในการแพทย์สายหลัก) 
ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมดูเหมือนจะเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย 
เพราะว่ามีการสังเกตพบว่าการเพิ่มของโรคออทิซึมในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมานั้น 
สอดคล้องกับระดับการสะสมของสารปรอท จึงมีการเสนอว่าการเกิดโรคออทิซึมส่วนหนึ่งอาจเกิดจากสารปรอท  

หลายการศึกษาทางด้านระบาดวิทยาเพื่อหาสาเหตุของโรค
ไม่สามารถพบความเชื่อมโยงระหว่างการถูกพิษสารปรอทผ่านไทเมอโรซาล (thimerosal) 
ซึ่งเป็นสารกันเสียในวัคซีนกับความเสี่ยงของการเกิดโรคออทิซึม 
ล่าสุดมีการพบว่าเด็กออทิสติกมีระดับการได้รับสารปรอทที่สูงกว่าในระหว่างการตั้งครรภ์
เนื่องจากแม่ที่มีอมัลกัมสีเงินเป็นที่อุดฟันและมีการฉีดยาที่มีไทเมอโรซาล 
จึงมีการตั้งทฤษฎีที่ว่าเด็กที่เป็นโรคออทิซึมมีความสามารถในการขับสารพิษลดลง
เนื่องจากความหลากหลายทางพันธุ์กรรม 

ในการทดลองภายนอกร่างกายมนุษย์ พบว่าปรอทและไทเมอโรซาล
ในระดับเดียวกับที่พบหลังจากการฉีดยาหลายวัน 
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์เมไธโอนีนซินเทส (methionine synthase) 50% 
ซึ่งการทำงานที่ปกติของเมไธโอนีนซินเทสมีความสำคัญในด้านชีวเคมี
ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาสมอง ความสนใจ และการผลิตกลูตาไธโอน (glutathione) 
ซึ่งเป็นสารสำคัญที่ต่อต้านอนุมูลอิสระและการขับสารพิษ 

การได้รับไทเมอโรซาลซ้ำเข้า ๆ นำไปสู่ความเสื่อมถอยของพฤติกรรมของระบบ
ประสาทในหนูที่มีภาวะแพ้ภูมิตนเอง การเพิ่มขึ้นของออกซิเดทีฟสเตรส (oxidative stress) 
และการลดลงของระดับกลูตาไธโอนในเซลล์ในการทดลองนอกร่างกายมนุษย์ 
ท้ายที่สุดเด็กออทิสติกมีการลดระดับลงของกลูตาไธโอนที่สูงมาก 
ทำให้การรักษาโรคออทิซึมมีความเกี่ยวพันกับการขับสารปรอท 
และการใช้อาหารเสริมเพื่อเสริมสารที่ขาดหายไปในร่างกายเด็ก

*นี่เป็นทฤษฎีที่หมอให้คำตอบไม่ได้ แต่ตลอด 20 ปีที่ผ่านมามีการขับสารปรอทแล้ว
ทำให้เด็กหายจากโรคออทิซึมได้จริง (ซึ่งมีหลักฐานเป็นตัวเป็นตนอย่างชัดเจน)
แต่การขับสารปรอทต้องใช้วิธีการขับตามระยะครึ่งชีวิตเท่านั้น
เพื่อให้ปลอดภัยและไม่ทำให้สมองเสียหายหนักมากยิ่งขึ้น 
การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตทำยังไง
ให้ศึกษาที่เราเพราะหมอจะไม่ขับสารปรอทโดยใช้ระยะครึ่งชีวิต

ที่ผ่านมามีหมอจำนวนไม่น้อยทั่วโลกที่เห็นด้วยหรือสงสัยในสารปรอทในวัคซีน
ถูกไล่ออกหรือถูกลงโทษด้วยวิธีการต่าง ๆ ทำให้หมอถ้าอยากทำอาชีพนี้ต่อไปอย่างสงบ
ต้องไม่มีความคิดต่างหรือมีข้อสงสัยในสิ่งที่ข้างบนกำหนดลงมา
ดังนั้นอาจพูดได้ว่าเวลาที่หมอพูดปกป้องวัคซีนเราไม่รู้หรอกว่าจริง ๆ แล้วในใจหมอนั้นคิดยังไง
ซึ่งนี่เป็นวิธีการควบคุมของการแพทย์ที่คล้าย ๆ กับ ระบบบางอย่างที่เราไม่ชอบอยู่ทุกวันนี้ 

อย่างไรก็ดีนี่เป็นวิถีของโลกการแพทย์ในปัจจุบันที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้
ดังนั้น ถ้าเกิดเป็นขึ้นมา ก็ต้องศึกษาและรักษาให้หายด้วยตัวเองให้ได้ 
มันเหมือนเป็นงานที่เพิ่มขึ้นของพ่อแม่ที่รักลูก....เพราะให้คนอื่นช่วยทำให้ไม่ได้
แต่มันก็ไม่ได้ลำบากเลยเพราะนี่คือความรักที่เรามีให้กับลูกอย่างหมดหัวใจ 

Mercury and autism: accelerating evidence?

The causes of autism and neurodevelopmental disorders are unknown. 
Genetic and environmental risk factors seem to be involved. 
Because of an observed increase in autism in the last decades, 
which parallels cumulative mercury exposure, 
it was proposed that autism may be in part caused by mercury. 
Several epidemiological studies failed to find a correlation between mercury exposure 
through thimerosal, a preservative used in vaccines, and the risk of autism. 

Recently, it was found that autistic children had a higher mercury exposure 
during pregnancy due to maternal dental amalgam and thimerosal-containing immunoglobulin shots. It was hypothesized that children with autism 
have a decreased detoxification capacity due to genetic polymorphism. 

In vitro, mercury and thimerosal in levels found several days after vaccination 
inhibit methionine synthase (MS) by 50%. Normal function of MS is crucial in
biochemical steps necessary for brain development, attention and production of glutathione,
an important antioxidative and detoxifying agent.

Repetitive doses of thimerosal leads to neurobehavioral deteriorations in
autoimmune susceptible mice, increased oxidative stress and decreased
intracellular levels of glutathione in vitro. Subsequently, autistic children have
significantly decreased level of reduced glutathione.
Promising treatments of autism involve detoxification of mercury,
and supplementation of deficient metabolites.
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่