คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
การเรียนการสอน
เนื่องจากอยู่ในคณะเกษตร จึงเน้นด้านแมลงทางการเกษตร
แต่โดยพื้นฐาน ก็จะเรียนด้านชีววิทยาเบื้องต้น
เช่น อนุกรมวิธาน การจำแนก สันฐานวิทยา สรีรวิทยา นิเวศวิทยา เป็นต้น
เรื่องงาน แบ่งเป็น 2 สายหลัก
1. งานราชการ
จะมีหน่วยงานที่ใช้ความรู้ด้านกีฏวิทยาโดยตรง หลัก ๆ 3 หน่วยงาน
1. สังกัดกระทรวงเกษตรฯ เช่น กรมวิชาการเกษตร, กรมส่งเสริมการเกษตร
เนื้องานจะทำในด้านแมลงศัตรูพืช
มีตำแหน่งงานด้านนี้ค่อนข้างมาก
2. สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ เช่น กรมป่าไม้, กรมอุทยานฯ
เนื้องานจะทำด้านแมลงศัตรูป่าไม้, และงานอนุรักษ์
แต่มีตำแหน่งโดยตรงน้อยมาก 2 กรมรวมกันน่าจะมีไม่ถึง 10 อัตรา
3. สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
เช่น กรมควบคุมโรค
จะทำงานด้านแมลงพาหะนำโรค
นอกจากหน่วยงาน 3 แห่งข้างต้น
ก็อาจจะมีงานในหน่วยงานรัฐอื่น เช่น ในมหาวิทยาลัย ในตำแหน่งอาจารย์ หรือนักวิจัย เป็นต้น
2. งานเอกชน
งานโดยตรงแบ่งเป็น 2 สายหลัก คือ
1. งานด้านแมลงศัตรูพืช
จะอยู่ในองค์กรเอกชนที่จัดจำหน่ายสารเคมีกำจัดแมลง
2. งานด้านแมลงศัตรูเคหสถาน
จะอยู่ในองค์กรเอกชนที่รับกำจัดแมลง
ทั้ง 2 สายมีตำแหน่งงานเยอะ และรายได้ค่อนข้างดี
เนื่องจากอยู่ในคณะเกษตร จึงเน้นด้านแมลงทางการเกษตร
แต่โดยพื้นฐาน ก็จะเรียนด้านชีววิทยาเบื้องต้น
เช่น อนุกรมวิธาน การจำแนก สันฐานวิทยา สรีรวิทยา นิเวศวิทยา เป็นต้น
เรื่องงาน แบ่งเป็น 2 สายหลัก
1. งานราชการ
จะมีหน่วยงานที่ใช้ความรู้ด้านกีฏวิทยาโดยตรง หลัก ๆ 3 หน่วยงาน
1. สังกัดกระทรวงเกษตรฯ เช่น กรมวิชาการเกษตร, กรมส่งเสริมการเกษตร
เนื้องานจะทำในด้านแมลงศัตรูพืช
มีตำแหน่งงานด้านนี้ค่อนข้างมาก
2. สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ เช่น กรมป่าไม้, กรมอุทยานฯ
เนื้องานจะทำด้านแมลงศัตรูป่าไม้, และงานอนุรักษ์
แต่มีตำแหน่งโดยตรงน้อยมาก 2 กรมรวมกันน่าจะมีไม่ถึง 10 อัตรา
3. สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
เช่น กรมควบคุมโรค
จะทำงานด้านแมลงพาหะนำโรค
นอกจากหน่วยงาน 3 แห่งข้างต้น
ก็อาจจะมีงานในหน่วยงานรัฐอื่น เช่น ในมหาวิทยาลัย ในตำแหน่งอาจารย์ หรือนักวิจัย เป็นต้น
2. งานเอกชน
งานโดยตรงแบ่งเป็น 2 สายหลัก คือ
1. งานด้านแมลงศัตรูพืช
จะอยู่ในองค์กรเอกชนที่จัดจำหน่ายสารเคมีกำจัดแมลง
2. งานด้านแมลงศัตรูเคหสถาน
จะอยู่ในองค์กรเอกชนที่รับกำจัดแมลง
ทั้ง 2 สายมีตำแหน่งงานเยอะ และรายได้ค่อนข้างดี
แสดงความคิดเห็น
คณะเกษตรศาสตร์ สาขากีฏวิทยา