คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
10. จาก PV = nRT = (m/M)RT
โดย M คือ มวลโมเลกุลของแก๊ส , n คือ จำนวนโมลของแก๊ส , T2 คืออุณหภูมิสุดท้ายของแก๊ส
ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.01×10⁵ N/m²
ปริมาตร 1 cm³ = 1×10^(-6) m³
สมมติให้ P1 = P2 , V1 = V2
มวลของแก๊สที่เหลือในถัง m2 = M(n2) = (MPV/R)(1/T2)
11. จาก PV = nRT = (m/M)RT
อุณหภูมิเคลวิน K = °C + 273 , M = 32 , R = 8.314 J/mol•K
1 g = 1×10^(-3) kg หรือ 1/1,000 kg
จำนวนโมลของแก๊ส n = PV/RT
มวลหน่วยกิโลกรัม m = nM/1,000
2. กำลัง = งาน/เวลา มีหน่วยเป็นวัตต์
200 g = 200/1,000 kg ,จุดเดือดของน้ำ = 100 °C , ในสูตรนี้ ∆T จะใช้หน่วย K หรือ °C ก็ได้ เพราะผลต่างอุณหภูมิเท่ากัน
(25/100)×กำลังไฟฟ้า = กำลังความร้อน
(25/100)×กำลังไฟฟ้า = mc∆T / t
t = mc(Tสุดท้าย-Tเริ่มต้น) / ( (25/100)×กำลังไฟฟ้า )
เวลาหน่วยนาที = t/60
ปล. ระวังเรื่องการแปลงหน่วย ให้สังเกตุหน่วยของค่า c ,เวลา t เป็นหน่วยวินาที
6. ∆Q เพิ่ม = ∆Q ลด
mc∆Tของน้ำ = mc∆Tของโลหะ
mน้ำเดือด = mc(Tเริ่มต้น-Tสุดท้าย) ของโลหะ / c(Tสุดท้าย-Tเริ่มต้น) ของน้ำ
ปล.Tสุดท้าย ของน้ำ = T สุดท้าย ของโลหะ = 100 °C ซึ่งเป็นจุดเดือดของน้ำ
8. จาก kT⁴ ผิววัตถุดำ = mc∆Tน้ำ
นำครั้งแรกกับครั้งที่สองมาเปรียบเทียบกัน จะได้
T⁴ / (2T)⁴ ผิววัตถุดำ = ∆T น้ำในการทดลองแรก / ∆T น้ำในการทดลองครั้งที่ 2
1/16 = (20.5-20)/∆T น้ำในการทดลองครั้งที่ 2
∆T น้ำในการทดลองครั้งที่ 2 = 8 °C
ตอบ 3.อุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้นจาก 20°C ไป 28°C
9. ใช้กฎของชาร์ลส์. V1/T1 = V2/T2 , ใช้อุณหภูมิ T หน่วยเคลวิน(K) , K = °C + 273
ปริมาตรบอลลูนเพิ่มขึ้นจากเดิม = V2/V1 = T2/T1 เท่า
30. จาก ∆U = ∆Q - ∆W , T = PV/nR
ปรับรูปสมการจะได้ ∆Q = ∆U + ∆W
∆Q = (U2-U1) + P(V2-V1)
จาก U = 2T+480 (หน่วย J/mol) ตามที่โจทย์ให้มา จะได้
∆Q = 2n(T2-T1) + P(V2-V1)
∆Q = 2n[ (P2V2/n2R) - (P1V1/n1R) ] + P(V2-V1)
โจทย์บอกจำนวนโมลของแก๊สคงที่ n=n1=n2=1 mol และความดันคงที่ (P1=P2) เพราะลูกสูบสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทำให้ปริมาตรเปลี่ยนแปลง โดยความดันคงที่
∆Q = (2P/R)(V2 - V1) + P(V2-V1)
∆Q = (V2-V1) [ (2P/R) + P ]
ตอบ 1. 7,446 J
18. งานของระบบ ∆W = (P2V2 - P1V1)
ช้อยส์ผิด ไม่มีข้อใดถูก เลือก 1. 229.9 kJ เพราะใกล้เคียงที่สุด
ปล. โจทย์ให้ค่า V1 กับ V2 มาแล้ว
หาค่าความดัน P จากสมการที่โจทย์ระบุ P = 20V + 100
การแปลงหน่วย kPa = kN/m² , kN/m² × m³ = kN•m = kJ
19. จากสูตร PV = NkbT โดย N คือ จำนวนโมเลกุลของแก๊ส
N1 = P1V1/kbT1 สมการที่ 1
N2 = P2V2/kbT2 สมการที่ 2
นำ สมการที่ 1 ÷ สมการที่ 2 จะได้
N1/N2 = (P1V1/kbT1)×(kbT2/P2V2)
N1/N2 = P1V1T2 / P2V2T1
สมมติ แก๊สทั้ง 2 ชนิดมีอุณหภูมิเท่ากัน T1 = T2 จะได้
N1/N2 = P1V1 / P2V2
เปลี่ยนรูปสมการ จะได้
N1/N2 = (P1/P2)[ (1/V2) / (1/V1) ]
อ่านกราฟ P กับ 1/V แล้วแทนค่าในสูตร
โดย M คือ มวลโมเลกุลของแก๊ส , n คือ จำนวนโมลของแก๊ส , T2 คืออุณหภูมิสุดท้ายของแก๊ส
ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.01×10⁵ N/m²
ปริมาตร 1 cm³ = 1×10^(-6) m³
สมมติให้ P1 = P2 , V1 = V2
มวลของแก๊สที่เหลือในถัง m2 = M(n2) = (MPV/R)(1/T2)
11. จาก PV = nRT = (m/M)RT
อุณหภูมิเคลวิน K = °C + 273 , M = 32 , R = 8.314 J/mol•K
1 g = 1×10^(-3) kg หรือ 1/1,000 kg
จำนวนโมลของแก๊ส n = PV/RT
มวลหน่วยกิโลกรัม m = nM/1,000
2. กำลัง = งาน/เวลา มีหน่วยเป็นวัตต์
200 g = 200/1,000 kg ,จุดเดือดของน้ำ = 100 °C , ในสูตรนี้ ∆T จะใช้หน่วย K หรือ °C ก็ได้ เพราะผลต่างอุณหภูมิเท่ากัน
(25/100)×กำลังไฟฟ้า = กำลังความร้อน
(25/100)×กำลังไฟฟ้า = mc∆T / t
t = mc(Tสุดท้าย-Tเริ่มต้น) / ( (25/100)×กำลังไฟฟ้า )
เวลาหน่วยนาที = t/60
ปล. ระวังเรื่องการแปลงหน่วย ให้สังเกตุหน่วยของค่า c ,เวลา t เป็นหน่วยวินาที
6. ∆Q เพิ่ม = ∆Q ลด
mc∆Tของน้ำ = mc∆Tของโลหะ
mน้ำเดือด = mc(Tเริ่มต้น-Tสุดท้าย) ของโลหะ / c(Tสุดท้าย-Tเริ่มต้น) ของน้ำ
ปล.Tสุดท้าย ของน้ำ = T สุดท้าย ของโลหะ = 100 °C ซึ่งเป็นจุดเดือดของน้ำ
8. จาก kT⁴ ผิววัตถุดำ = mc∆Tน้ำ
นำครั้งแรกกับครั้งที่สองมาเปรียบเทียบกัน จะได้
T⁴ / (2T)⁴ ผิววัตถุดำ = ∆T น้ำในการทดลองแรก / ∆T น้ำในการทดลองครั้งที่ 2
1/16 = (20.5-20)/∆T น้ำในการทดลองครั้งที่ 2
∆T น้ำในการทดลองครั้งที่ 2 = 8 °C
ตอบ 3.อุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้นจาก 20°C ไป 28°C
9. ใช้กฎของชาร์ลส์. V1/T1 = V2/T2 , ใช้อุณหภูมิ T หน่วยเคลวิน(K) , K = °C + 273
ปริมาตรบอลลูนเพิ่มขึ้นจากเดิม = V2/V1 = T2/T1 เท่า
30. จาก ∆U = ∆Q - ∆W , T = PV/nR
ปรับรูปสมการจะได้ ∆Q = ∆U + ∆W
∆Q = (U2-U1) + P(V2-V1)
จาก U = 2T+480 (หน่วย J/mol) ตามที่โจทย์ให้มา จะได้
∆Q = 2n(T2-T1) + P(V2-V1)
∆Q = 2n[ (P2V2/n2R) - (P1V1/n1R) ] + P(V2-V1)
โจทย์บอกจำนวนโมลของแก๊สคงที่ n=n1=n2=1 mol และความดันคงที่ (P1=P2) เพราะลูกสูบสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทำให้ปริมาตรเปลี่ยนแปลง โดยความดันคงที่
∆Q = (2P/R)(V2 - V1) + P(V2-V1)
∆Q = (V2-V1) [ (2P/R) + P ]
ตอบ 1. 7,446 J
18. งานของระบบ ∆W = (P2V2 - P1V1)
ช้อยส์ผิด ไม่มีข้อใดถูก เลือก 1. 229.9 kJ เพราะใกล้เคียงที่สุด
ปล. โจทย์ให้ค่า V1 กับ V2 มาแล้ว
หาค่าความดัน P จากสมการที่โจทย์ระบุ P = 20V + 100
การแปลงหน่วย kPa = kN/m² , kN/m² × m³ = kN•m = kJ
19. จากสูตร PV = NkbT โดย N คือ จำนวนโมเลกุลของแก๊ส
N1 = P1V1/kbT1 สมการที่ 1
N2 = P2V2/kbT2 สมการที่ 2
นำ สมการที่ 1 ÷ สมการที่ 2 จะได้
N1/N2 = (P1V1/kbT1)×(kbT2/P2V2)
N1/N2 = P1V1T2 / P2V2T1
สมมติ แก๊สทั้ง 2 ชนิดมีอุณหภูมิเท่ากัน T1 = T2 จะได้
N1/N2 = P1V1 / P2V2
เปลี่ยนรูปสมการ จะได้
N1/N2 = (P1/P2)[ (1/V2) / (1/V1) ]
อ่านกราฟ P กับ 1/V แล้วแทนค่าในสูตร
แสดงความคิดเห็น
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ฟิสิกส์
ไม่ต้องแล้วครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ เหลือแค่นี้แล้วจริงๆ