***** งดเว้นดร่าม่านะครับ ขอเชิงวิชาการล้วนๆ *****
นับตั้งแต่ 2 - 3 ปีที่ผ่านมา มีการปิด และเปิดประเทศสลับกันไป อันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิท และการบริหารจัดการวัคซีน (งดการเมืองกันด้วยนะ แต่พูด fact ได้) สถานการณ์ด้านอีเว้นต์ ซึ่งเป็นหัวใจหลักของ iAM48 กระทบหนัก วงมีรายจ่ายมากกว่ารายได้ และต้องอยู่ด้วยงานโฆษณา และเงินก้อนใหญ่อย่างเลือกตั้ง เพื่อนๆ คิดว่าสถานการณ์ดังกล่าว iAM48 ควรปรับสิ่งใด
ส่วนตัว
1. (ในมุม Commercial) ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องจะรู้กันดีว่ามีเมมเบอร์ที่เขาอยากได้มาร่วมงานด้วยชุดหนึ่ง แต่ อฟช ชอบส่งเด็กที่ถูกดันเป็นพิเศษไปด้วย (ไม่ได้เจาะจงนะครับ แค่พูดในฐานะมาร์เก็ตติ้ง ไม่ใช่ในฐานะแฟนคลับ) แล้วคิดราคาเพิ่ม สุดท้าย deal ก็ไม่ลงตัว ปิดโปรเจคไป บางโปรเจคที่ไปต่อได้ก็โชคดีไป ในมุมมองของคนทำงานจริงๆ หัวโต๊ะจะไม่รู้เกี่ยวกับ 48 มากนัก หรือพูดง่ายๆ คือไม่ได้อินเหมือนพวกเรา เขาจะเอาคนที่ขายได้ ไปต่อยอดได้ ในมุมมองของเขา (ถ้าใครอยู่ในวงการจะรู้สิ่งเหล่านี้ดี) ไม่ใช่การต่อยอดของทาง อฟช เอง
2. (ในมุม Creative Product) เร่งเปิดตัวซิง 11 ซึ่งเป็นซิงบัตรเลือกตั้ง (ส่วนตัว อฟช พลาดที่ไม่ได้เปิดตัวในงาน 2 shot เน้น lecture token x มากเกินไป ทั้งที่อาจทำ animation มาสอนได้) รายได้ชุดแรกมาจากการซื้อซิงพร้อมบัตรจับมือ จะเป็นในรูปแบบซีดี มินิโฟโต้บุ๊ค หรือมิวสิคการ์ดก็ตาม อีกหนึ่งส่วนสำคัญคืออีเว้นต์ ปรับให้เป็น Hybrid มากขึ้น (ส่วนตัวอยากให้บริษัทศึกษาเรื่อง Metaverse) ส่วนช่องทางออนไลน์ปรับให้มีคุณภาพมากขึ้น มี variety และ performance มากขึ้น
3. (ในมุม Legacy Product) ปรับรูปแบบการดันเด็ก ให้มีความโปร่งใสมากขึ้น ไม่ดันคนใดคนหนึ่งมากจนเกินไป (ไม่ได้หมายถึงใครคนใดคนหนึ่งนะครับ) เมมเบอร์ในฐานะ Product จะได้มีหลากหลายนำไปต่อยอดได้ เพราะหากรุ่น 1 ที่เป็นตัวท๊อปไม่อยู่แล้วจะได้มีแพ็คตอบโจทย์ลูกค้ามากขึ้น หากดันคนใดคนหนึ่งมากไปปัญหาโดยภาพรวมอาจจะตามมาได้ เช่นต้องมีเด็กคนนี้เท่านั้นนะ ประมาณนี้ ตลอดจนปลดล็อครุ่น 3 ดันเทียบเท่ารุ่น 2 ถอดบทเรียนในอดีต และนำมาประยุกต์การโปรโมทมากขึ้น
4. (ในมุม Operation) ปรับโครงสร้างองค์กร และประกาศให้สาธารณะชนให้รับรู้ เพื่อจะได้รู้ว่าสิ่งไหนจะต้องติดต่อใคร เช่น Commercial ติดต่อใคร Creative Product ติดต่อใคร, Product เมมเบอร์ติดต่อใคร ใครเป็นคนดูแลทางดนตรี (อันนี้ทุกคนรู้อยู่แล้ว) เป็นต้น มองของจากมุมมองนักลงทุน หากการลงทุนใด ที่เป็นการลงทุนที่ไม่ก็ให้ก็ให้เกิดรายได้ และไม่เกี่ยวข้องกับ 48 ให้งดเว้น หรือยกเลิก หรือ spin off ออกจาก iAM อาจตั้งเป็น โฮลดิ้งต่อไป รวมถึงวงอื่นๆ ที่อยู่ใต้ชายคา iAM ด้วย
อันนี้มุมมองส่วนตัวของเรานะครับ ย้ำอีกทีมองมุมคนทำงาน ไม่ใช่มุมแฟนคลับนะครับ ทั้งนี้เพื่อวงจะได้ดำเนินต่อไปในสถานการณ์นี้ (ที่ผมมองในมุมนี้ ทั้งๆ ที่ผมก็คีฟเมม เพราะอยากให้บริษัทและวงเดินต่อไปได้จนคามิ + เกคิผมแกรด ผมก็แกรดตามไปด้วย หลังจากนั้นก็แล้วแต่บริษัทจะพิจารณา)
[ชวนคุยวันหยุดเชิงยุทธศาสตร์] คิดว่า อฟช ควรทำอย่างไรในสถานการณ์ต่อจากนี้
นับตั้งแต่ 2 - 3 ปีที่ผ่านมา มีการปิด และเปิดประเทศสลับกันไป อันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิท และการบริหารจัดการวัคซีน (งดการเมืองกันด้วยนะ แต่พูด fact ได้) สถานการณ์ด้านอีเว้นต์ ซึ่งเป็นหัวใจหลักของ iAM48 กระทบหนัก วงมีรายจ่ายมากกว่ารายได้ และต้องอยู่ด้วยงานโฆษณา และเงินก้อนใหญ่อย่างเลือกตั้ง เพื่อนๆ คิดว่าสถานการณ์ดังกล่าว iAM48 ควรปรับสิ่งใด
ส่วนตัว
1. (ในมุม Commercial) ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องจะรู้กันดีว่ามีเมมเบอร์ที่เขาอยากได้มาร่วมงานด้วยชุดหนึ่ง แต่ อฟช ชอบส่งเด็กที่ถูกดันเป็นพิเศษไปด้วย (ไม่ได้เจาะจงนะครับ แค่พูดในฐานะมาร์เก็ตติ้ง ไม่ใช่ในฐานะแฟนคลับ) แล้วคิดราคาเพิ่ม สุดท้าย deal ก็ไม่ลงตัว ปิดโปรเจคไป บางโปรเจคที่ไปต่อได้ก็โชคดีไป ในมุมมองของคนทำงานจริงๆ หัวโต๊ะจะไม่รู้เกี่ยวกับ 48 มากนัก หรือพูดง่ายๆ คือไม่ได้อินเหมือนพวกเรา เขาจะเอาคนที่ขายได้ ไปต่อยอดได้ ในมุมมองของเขา (ถ้าใครอยู่ในวงการจะรู้สิ่งเหล่านี้ดี) ไม่ใช่การต่อยอดของทาง อฟช เอง
2. (ในมุม Creative Product) เร่งเปิดตัวซิง 11 ซึ่งเป็นซิงบัตรเลือกตั้ง (ส่วนตัว อฟช พลาดที่ไม่ได้เปิดตัวในงาน 2 shot เน้น lecture token x มากเกินไป ทั้งที่อาจทำ animation มาสอนได้) รายได้ชุดแรกมาจากการซื้อซิงพร้อมบัตรจับมือ จะเป็นในรูปแบบซีดี มินิโฟโต้บุ๊ค หรือมิวสิคการ์ดก็ตาม อีกหนึ่งส่วนสำคัญคืออีเว้นต์ ปรับให้เป็น Hybrid มากขึ้น (ส่วนตัวอยากให้บริษัทศึกษาเรื่อง Metaverse) ส่วนช่องทางออนไลน์ปรับให้มีคุณภาพมากขึ้น มี variety และ performance มากขึ้น
3. (ในมุม Legacy Product) ปรับรูปแบบการดันเด็ก ให้มีความโปร่งใสมากขึ้น ไม่ดันคนใดคนหนึ่งมากจนเกินไป (ไม่ได้หมายถึงใครคนใดคนหนึ่งนะครับ) เมมเบอร์ในฐานะ Product จะได้มีหลากหลายนำไปต่อยอดได้ เพราะหากรุ่น 1 ที่เป็นตัวท๊อปไม่อยู่แล้วจะได้มีแพ็คตอบโจทย์ลูกค้ามากขึ้น หากดันคนใดคนหนึ่งมากไปปัญหาโดยภาพรวมอาจจะตามมาได้ เช่นต้องมีเด็กคนนี้เท่านั้นนะ ประมาณนี้ ตลอดจนปลดล็อครุ่น 3 ดันเทียบเท่ารุ่น 2 ถอดบทเรียนในอดีต และนำมาประยุกต์การโปรโมทมากขึ้น
4. (ในมุม Operation) ปรับโครงสร้างองค์กร และประกาศให้สาธารณะชนให้รับรู้ เพื่อจะได้รู้ว่าสิ่งไหนจะต้องติดต่อใคร เช่น Commercial ติดต่อใคร Creative Product ติดต่อใคร, Product เมมเบอร์ติดต่อใคร ใครเป็นคนดูแลทางดนตรี (อันนี้ทุกคนรู้อยู่แล้ว) เป็นต้น มองของจากมุมมองนักลงทุน หากการลงทุนใด ที่เป็นการลงทุนที่ไม่ก็ให้ก็ให้เกิดรายได้ และไม่เกี่ยวข้องกับ 48 ให้งดเว้น หรือยกเลิก หรือ spin off ออกจาก iAM อาจตั้งเป็น โฮลดิ้งต่อไป รวมถึงวงอื่นๆ ที่อยู่ใต้ชายคา iAM ด้วย
อันนี้มุมมองส่วนตัวของเรานะครับ ย้ำอีกทีมองมุมคนทำงาน ไม่ใช่มุมแฟนคลับนะครับ ทั้งนี้เพื่อวงจะได้ดำเนินต่อไปในสถานการณ์นี้ (ที่ผมมองในมุมนี้ ทั้งๆ ที่ผมก็คีฟเมม เพราะอยากให้บริษัทและวงเดินต่อไปได้จนคามิ + เกคิผมแกรด ผมก็แกรดตามไปด้วย หลังจากนั้นก็แล้วแต่บริษัทจะพิจารณา)