ทีม Warriors อาจจะเคยได้เเชมป์ลีกเมื่อปี 2015 เเต่พวกเขาดันไปพ่ายให้กับทีม Cavaliers ของ LeBron James อย่างเจ็บเเสบในปีถัดมาทั้งๆ ที่ขึ้นนํา series ก่อนที่ 3-1 ข้อดีข้อเดียวของการพ่ายเเพ้ครั้งนี้คือมันเปิดทางให้พวกเขาไปเซ็นเอาตัว Kevin Durant มาสร้าง superteam
คําว่า “superteam” ในกีฬา major league ของอเมริกาต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ครบ:
-ใช้ได้กับลีกบาสเเละ soccer เท่านั้น
-ทีมนั้นต้องมีผู้เล่นระดับ superstar หรือกึ่งๆ superstar อย่างน้อย 2 คนรวมถึงต้องมี star อีกอย่างน้อย 1 คน
-องค์ประกอบของผู้เล่นต้องเป็นเเบบผสมผสานกันทั้งเเบบที่ดราฟต์มาเอง, มาจากตลาด free agency หรือได้ตัวมาจากการเทรด
สรุปคําว่า superteam ต้องมีผู้เล่นที่เด่นมากๆ อยู่ในรายชื่ออย่างน้อย 3 คน ถ้าเด่นเเค่ 2 คนยังไม่เรียกว่า superteam
ก่อนหน้าที่ Warriors จะได้ตัว KD มา พวกเขาอาจจะมีทั้ง Klay, Green, Barnes, Curry เเต่นั่นไม่ใช่ superteam เพราะทั้งหมดเป็นผู้เล่นที่ดราฟต์มาเองกับมือ ดังนั้นถ้าจะให้เรียก superteam ก็ต้องมีการเพิ่ม superstar อีกคนจากตลาด free agency หรือจากการเทรดด้วยถึงจะเข้าเกณฑ์
ตอนนั้นหลายๆ คนก็สงสัยว่าทีมสะพานทองเอาเเคปที่ไหนมาเซ็นจ้าง KD เเละต่อให้เขายอมลดค่าเหนื่อยลง เเคปก็ไม่น่าจะพอ สาเหตุที่พวกเขาทําได้เพราะปีนั้นลีกเพิ่งได้เงินเพิ่มมหาศาลจากสัญญาถ่ายทอดสดบาสทางทีวีฉบับใหม่เลยทําให้มีการเพิ่ม salary cap มากขึ้นด้วย
ตอนเเรกลีกอยากจะให้มีการปรับ cap เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไปในระยะเวลา 7-8 ปีโดยใช้กระบวนการที่เรียกว่า “cap smoothing” ทีมต่างๆ จะได้ค่อยๆ ปรับตัวบริหารเเคปได้เเละเงินค่าจ้างจะได้กระจายตัวอย่างทั่วถึง ไม่ใช่ไปกระจุกอยู่ที่ผู้เล่นไม่กี่คนเเต่สหภาพผู้เล่นไม่ยอมเเละยืนกรานว่าพวกเขาต้องการให้เเคปถูกปรับขึ้นเเบบพรวดพราดไปเลยในระยะเวลา 2-3 ปี
การปฏิเสธเเนวคิด cap smoothing ทําให้ทีมต่างๆ มี salary cap พุ่งขึ้นรวดเดียว $24 ล้าน (จากเดิมอยู่ที่ $70 ล้านก็เพิ่มเป็น $94 ล้าน) ซึ่งนี่เป็นการการเปิดประตูให้ทีม Warriors มีเเคปเหลือไปเซ็นเอาตัว KD มาสร้าง superteam ครองลีกซึ่งตอนนั้นสหภาพผู้เล่นคิดเเต่เรื่องอยากได้เงินเพิ่มทีเดียวมหาศาลเเต่พวกเขาไม่ได้มองเลยว่าผลกระทบที่ตามมาจากการที่เเคปพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วจะมีอะไรบ้าง
ก็เอามาเล่ากันสู่ฟังค่ะสําหรับคนที่อาจไม่ทันได้ดูบาสยุคนั้น
Credit: CBS
🏀 ย้อนรอยเหตุการณ์ที่นําไปสู่ Superteam
คําว่า “superteam” ในกีฬา major league ของอเมริกาต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ครบ:
-ใช้ได้กับลีกบาสเเละ soccer เท่านั้น
-ทีมนั้นต้องมีผู้เล่นระดับ superstar หรือกึ่งๆ superstar อย่างน้อย 2 คนรวมถึงต้องมี star อีกอย่างน้อย 1 คน
-องค์ประกอบของผู้เล่นต้องเป็นเเบบผสมผสานกันทั้งเเบบที่ดราฟต์มาเอง, มาจากตลาด free agency หรือได้ตัวมาจากการเทรด
สรุปคําว่า superteam ต้องมีผู้เล่นที่เด่นมากๆ อยู่ในรายชื่ออย่างน้อย 3 คน ถ้าเด่นเเค่ 2 คนยังไม่เรียกว่า superteam
ก่อนหน้าที่ Warriors จะได้ตัว KD มา พวกเขาอาจจะมีทั้ง Klay, Green, Barnes, Curry เเต่นั่นไม่ใช่ superteam เพราะทั้งหมดเป็นผู้เล่นที่ดราฟต์มาเองกับมือ ดังนั้นถ้าจะให้เรียก superteam ก็ต้องมีการเพิ่ม superstar อีกคนจากตลาด free agency หรือจากการเทรดด้วยถึงจะเข้าเกณฑ์
ตอนนั้นหลายๆ คนก็สงสัยว่าทีมสะพานทองเอาเเคปที่ไหนมาเซ็นจ้าง KD เเละต่อให้เขายอมลดค่าเหนื่อยลง เเคปก็ไม่น่าจะพอ สาเหตุที่พวกเขาทําได้เพราะปีนั้นลีกเพิ่งได้เงินเพิ่มมหาศาลจากสัญญาถ่ายทอดสดบาสทางทีวีฉบับใหม่เลยทําให้มีการเพิ่ม salary cap มากขึ้นด้วย
ตอนเเรกลีกอยากจะให้มีการปรับ cap เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไปในระยะเวลา 7-8 ปีโดยใช้กระบวนการที่เรียกว่า “cap smoothing” ทีมต่างๆ จะได้ค่อยๆ ปรับตัวบริหารเเคปได้เเละเงินค่าจ้างจะได้กระจายตัวอย่างทั่วถึง ไม่ใช่ไปกระจุกอยู่ที่ผู้เล่นไม่กี่คนเเต่สหภาพผู้เล่นไม่ยอมเเละยืนกรานว่าพวกเขาต้องการให้เเคปถูกปรับขึ้นเเบบพรวดพราดไปเลยในระยะเวลา 2-3 ปี
การปฏิเสธเเนวคิด cap smoothing ทําให้ทีมต่างๆ มี salary cap พุ่งขึ้นรวดเดียว $24 ล้าน (จากเดิมอยู่ที่ $70 ล้านก็เพิ่มเป็น $94 ล้าน) ซึ่งนี่เป็นการการเปิดประตูให้ทีม Warriors มีเเคปเหลือไปเซ็นเอาตัว KD มาสร้าง superteam ครองลีกซึ่งตอนนั้นสหภาพผู้เล่นคิดเเต่เรื่องอยากได้เงินเพิ่มทีเดียวมหาศาลเเต่พวกเขาไม่ได้มองเลยว่าผลกระทบที่ตามมาจากการที่เเคปพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วจะมีอะไรบ้าง
ก็เอามาเล่ากันสู่ฟังค่ะสําหรับคนที่อาจไม่ทันได้ดูบาสยุคนั้น
Credit: CBS