Fix Drug Eruption รู้จักผื่นผิวหนังที่เกิดจากยา
แปลตามตัวจากหลังมาหน้าก็คือ ผื่นปะทุจากยาที่เกิดตำแหน่งซ้ำๆเดิม
#ทำไมเรื่องนี้ถึงเอามาพูด
เพราะเป็นผื่นผิวหนังที่คนไม่ค่อยรู้จัก
✅จริงๆค่อนข้างรุนแรงทางผิวหนัง
แต่ดันคล้ายตุ่มยุงในคนที่แพ้มดแพ้ยุง
แต่ตุ่มเลิกบวมไปแล้วกลายเป็นสีแดงเข้ม หรือดำๆ
ทำให้คนไม่รู้แล้วอาจจะไม่ไปหาหมอ
#FDE_คืออะไร
ถ้าแปลง่ายๆก็อย่างที่บอกไปข้างบน
แต่ถ้าเอาตามหลักคือ
การแพ้ทางผิวหนังจากยา/อาหาร/สารเคมี
เมื่อเจอสิ่งกระตุ้นแบบเดิม ก็จะเกิดผื่นตำแหน่งซ้ำๆเดิม
ส่วนตำแหน่งใหม่ๆก็มีโผล่มาได้บ้าง
#FDE_เกิดกับใครได้บ้าง
เกิดกับใครก็ได้ แต่มักเจอในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
#สาเหตุทำให้เกิด_FDE
1️⃣ ยาฆ่าเชื้อ (Antimicrobials)
• ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
cotrimoxazole, tetracyclines, penicillins, metronidazole, rifampicin, erythromycin, quinolones, dapsone
• ยารักษามาลาเรีย — quinine
• ยาฆ่าเชื้อรา —fluconazole
ยาแก้ปวด/แก้อักเสบ (Analgesics/anti-inflammatories)
• Paracetamol
• Non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAID)
aspirin, ibuprofen, naproxen, piroxicam, mefenamic acid
2️⃣ ยานอนหลับและยากันชัก (Sedatives and anticonvulsants)
Carbamazepine, barbiturates, and benzodiazepines
3️⃣ ยาลดความดัน(Antihypertensives)
• Calcium-channel blockers
• Angiotensin-converting enzyme inhibitors
4️⃣ยาอื่นๆ
Cetirizine, omeprazole, pseudoephedrine, sulphasalazine,
5️⃣สมุนไพรและอาหารเสริม
Asparagus, cashew nuts, Kiwi, lentil, palm wine, peanut, propolis, , seafood, strawberry
#กลไกการเกิดคร่าวๆ (ข้ามได้เป็นกลไกทางร่างกาย)
เป็นการแพ้แบบ delayed type IV hypersensitivity reaction
ยาไปกระตุ้นให้ผิวหนังถูกทำลาย
โดย T-cell และ Neutrophil ไปทำลายเซลล์ผิวและเม็ดสี
เกิดเป็น PIH รอยดำจากการอักเสบ (post-inflammatory hyperpigmentation)
#อาการแบบง่ายๆ
หลังจากกินยาไป 30 นาที ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
จะเกิดผื่นกลมๆ สีแดง ตรงกลางงผื่นจะเป็นสีแดงคล้ำๆ อมม่วง
ถ้าเป็นเยอะๆก็จะพองเป็นตุ่มน้ำ
รู้สึกเจ็บๆคันๆ เมื่อหายแล้วจะทิ้งรอยดำชัดเจนและนาน หลายเดือนกว่าจะหาย
ถ้าเคยกินยานี้มาก่อน ผื่นก็จะขึ้นที่เดิมเป๊ะ หรือมีตำแหน่งอื่นๆด้วย
มักเป็นที่ปาก ตำแหน่งอื่นที่เจอได้ คือ มือ เท้า ตา
ซึ่งแปลว่าครั้งแรกจะเช็กยาก แต่ครั้งที่2 จะสังเกตได้ง่าย
เพราะฉะนั้น ถ้ามีพื้นกลมๆแดงๆเข้มแบบนี้หลังจากกินยาให้ไปหาหมอได้เลยค่า
#การรักษา
ย้ำว่าการรักษานี้ต้องได้รับการดูแลโดยแพทย์และเภสัชกรในโรงพยาบาลเท่านั้น
1️⃣ หยุดยาที่ทำให้เกิดผื่นทันที –และเปลี่ยนไปใช้ยากลุ่มอื่น—ออกบัตรแพ้ยา
2️⃣ ทานยาแก้แพ้แก้คัน
3️⃣ ทายาสเตียรอยด์ลดแดง
4️⃣ ใช้ยาทาเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น(ได้บ้าง)
5️⃣ หลังจากที่การรักษาทางการแพย์เสร็จสิ้นจึงจะเริ่มใช้สกินแคร์เพื่อจัดการรอยบนผิวนะคะ ^^
#เพราะรักจึงบอก
#เภสัชกรรัก
💊Fix Drug Eruption ผื่นแพ้ยาที่ไม่ควรมองข้าม💊
แปลตามตัวจากหลังมาหน้าก็คือ ผื่นปะทุจากยาที่เกิดตำแหน่งซ้ำๆเดิม
#ทำไมเรื่องนี้ถึงเอามาพูด
เพราะเป็นผื่นผิวหนังที่คนไม่ค่อยรู้จัก
✅จริงๆค่อนข้างรุนแรงทางผิวหนัง
แต่ดันคล้ายตุ่มยุงในคนที่แพ้มดแพ้ยุง
แต่ตุ่มเลิกบวมไปแล้วกลายเป็นสีแดงเข้ม หรือดำๆ
ทำให้คนไม่รู้แล้วอาจจะไม่ไปหาหมอ
#FDE_คืออะไร
ถ้าแปลง่ายๆก็อย่างที่บอกไปข้างบน
แต่ถ้าเอาตามหลักคือ
การแพ้ทางผิวหนังจากยา/อาหาร/สารเคมี
เมื่อเจอสิ่งกระตุ้นแบบเดิม ก็จะเกิดผื่นตำแหน่งซ้ำๆเดิม
ส่วนตำแหน่งใหม่ๆก็มีโผล่มาได้บ้าง
#FDE_เกิดกับใครได้บ้าง
เกิดกับใครก็ได้ แต่มักเจอในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
#สาเหตุทำให้เกิด_FDE
1️⃣ ยาฆ่าเชื้อ (Antimicrobials)
• ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
cotrimoxazole, tetracyclines, penicillins, metronidazole, rifampicin, erythromycin, quinolones, dapsone
• ยารักษามาลาเรีย — quinine
• ยาฆ่าเชื้อรา —fluconazole
ยาแก้ปวด/แก้อักเสบ (Analgesics/anti-inflammatories)
• Paracetamol
• Non-steroidal anti-inflammatory drugs (NSAID)
aspirin, ibuprofen, naproxen, piroxicam, mefenamic acid
2️⃣ ยานอนหลับและยากันชัก (Sedatives and anticonvulsants)
Carbamazepine, barbiturates, and benzodiazepines
3️⃣ ยาลดความดัน(Antihypertensives)
• Calcium-channel blockers
• Angiotensin-converting enzyme inhibitors
4️⃣ยาอื่นๆ
Cetirizine, omeprazole, pseudoephedrine, sulphasalazine,
5️⃣สมุนไพรและอาหารเสริม
Asparagus, cashew nuts, Kiwi, lentil, palm wine, peanut, propolis, , seafood, strawberry
#กลไกการเกิดคร่าวๆ (ข้ามได้เป็นกลไกทางร่างกาย)
เป็นการแพ้แบบ delayed type IV hypersensitivity reaction
ยาไปกระตุ้นให้ผิวหนังถูกทำลาย
โดย T-cell และ Neutrophil ไปทำลายเซลล์ผิวและเม็ดสี
เกิดเป็น PIH รอยดำจากการอักเสบ (post-inflammatory hyperpigmentation)
#อาการแบบง่ายๆ
หลังจากกินยาไป 30 นาที ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
จะเกิดผื่นกลมๆ สีแดง ตรงกลางงผื่นจะเป็นสีแดงคล้ำๆ อมม่วง
ถ้าเป็นเยอะๆก็จะพองเป็นตุ่มน้ำ
รู้สึกเจ็บๆคันๆ เมื่อหายแล้วจะทิ้งรอยดำชัดเจนและนาน หลายเดือนกว่าจะหาย
ถ้าเคยกินยานี้มาก่อน ผื่นก็จะขึ้นที่เดิมเป๊ะ หรือมีตำแหน่งอื่นๆด้วย
มักเป็นที่ปาก ตำแหน่งอื่นที่เจอได้ คือ มือ เท้า ตา
ซึ่งแปลว่าครั้งแรกจะเช็กยาก แต่ครั้งที่2 จะสังเกตได้ง่าย
เพราะฉะนั้น ถ้ามีพื้นกลมๆแดงๆเข้มแบบนี้หลังจากกินยาให้ไปหาหมอได้เลยค่า
#การรักษา
ย้ำว่าการรักษานี้ต้องได้รับการดูแลโดยแพทย์และเภสัชกรในโรงพยาบาลเท่านั้น
1️⃣ หยุดยาที่ทำให้เกิดผื่นทันที –และเปลี่ยนไปใช้ยากลุ่มอื่น—ออกบัตรแพ้ยา
2️⃣ ทานยาแก้แพ้แก้คัน
3️⃣ ทายาสเตียรอยด์ลดแดง
4️⃣ ใช้ยาทาเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น(ได้บ้าง)
5️⃣ หลังจากที่การรักษาทางการแพย์เสร็จสิ้นจึงจะเริ่มใช้สกินแคร์เพื่อจัดการรอยบนผิวนะคะ ^^
#เพราะรักจึงบอก
#เภสัชกรรัก