สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 6
แต่เก่าก่อน ภาคใต้ก็ยกใต้ถุนสูงครับ ถ้าเป็นที่ลุ่มมีประวัติน้ำท่วม
- บ้านตาอยู่สงขลา ตรงข้ามวิทยาลัยพยาบาลเลย ยกพื้นเป็นใต้ถุน
เตี้ยๆ สูงเมตรนึงได้ ก่ออิฐปิดใต้ถุนแต่มีช่องระบายอากาศ
- บ้านยายอยู่ต.บางเขียด อ.สิงหนคร ยกพื้นสูงเลยครับ
แบบเดินใต้ถุนบ้านได้ และมียกพื้นต่ำกว่า เพื่อเป็นที่อยู่ไฟด้วย
พอสร้างใหม่ก็เป็นบ้านไม้หลังคากระเบื้อง ไม่ยกพื้น
ปัจจุบัน สร้างเพิ่ม เป็นปูนไม่ยกพื้นแล้ว
- บ้านปู่ย่า อยู่บนเขาจ.ระนอง เป็นบ้านไม้หลังคามุงจาก
ไม่ได้ยกพื้นครับ พอสร้างใหม่ก็เป็นบ้านไม้หลังคากระเบื้อง
ส่วนครัวเป็นสังกะสี ห้องน้ำห้องสุขา อยู่นอกบ้าน
- ผมตอนนี้อยู่หาดใหญ่ บ้านเป็นทาวน์เฮ้าส์ตามยุคสมัยครับ
มีอยู่ปีนึง น้ำท่วม 19 ครั้ง 555 ผมเลยซื้อบ้านเดี่ยวมีบริเวณ
และอยู่บนเขา จะได้หมดปัญหา แต่ ไปเจอประกาศเขตภัย
ภิบัติดินไหลลงมาครับ..จนได้
- คิดว่าที่มั่นสุดท้ายผม ต้องเป็นบ้านคนชราแน่นอนเลย อิ อิ
- บ้านตาอยู่สงขลา ตรงข้ามวิทยาลัยพยาบาลเลย ยกพื้นเป็นใต้ถุน
เตี้ยๆ สูงเมตรนึงได้ ก่ออิฐปิดใต้ถุนแต่มีช่องระบายอากาศ
- บ้านยายอยู่ต.บางเขียด อ.สิงหนคร ยกพื้นสูงเลยครับ
แบบเดินใต้ถุนบ้านได้ และมียกพื้นต่ำกว่า เพื่อเป็นที่อยู่ไฟด้วย
พอสร้างใหม่ก็เป็นบ้านไม้หลังคากระเบื้อง ไม่ยกพื้น
ปัจจุบัน สร้างเพิ่ม เป็นปูนไม่ยกพื้นแล้ว
- บ้านปู่ย่า อยู่บนเขาจ.ระนอง เป็นบ้านไม้หลังคามุงจาก
ไม่ได้ยกพื้นครับ พอสร้างใหม่ก็เป็นบ้านไม้หลังคากระเบื้อง
ส่วนครัวเป็นสังกะสี ห้องน้ำห้องสุขา อยู่นอกบ้าน
- ผมตอนนี้อยู่หาดใหญ่ บ้านเป็นทาวน์เฮ้าส์ตามยุคสมัยครับ
มีอยู่ปีนึง น้ำท่วม 19 ครั้ง 555 ผมเลยซื้อบ้านเดี่ยวมีบริเวณ
และอยู่บนเขา จะได้หมดปัญหา แต่ ไปเจอประกาศเขตภัย
ภิบัติดินไหลลงมาครับ..จนได้
- คิดว่าที่มั่นสุดท้ายผม ต้องเป็นบ้านคนชราแน่นอนเลย อิ อิ
แสดงความคิดเห็น
ภูมิปัญญาคนสมัยก่อนภาคกลาง ปลูกบ้านใต้ถุนสูงเพื่อรอรับน้ำท่วมทุกปีหรือเปล่า
ผมว่าการปลูกบ้านสมัยใหม่ บ้าน 2 ชั้นสไตล์ยุโรปมาปลูกพื้นที่ราบลุ่มแบบนี้ มันสวยดีแต่ว่าไม่เหมาะับภูมิศาสตร์หรือเปล่า เพราะน้ำยังไงก็ท่วมสูงต่อให้ถมดินสูง เวลาผ่านไปก็ท่วมตามธรรมชาติของมัน ปลูกบ้านใต้ถุนสูงน่าจะเหมาะกว่าสำหรับพื้นที่ตรงนี้