สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
ที่บอกมาว่าถ้า ๆ ๆ ๆ ทำลายได้หมด(เรือบรรทุเครื่องบินด้วย)มันก็แน่ละญี่ปุ่นจะมีกำลังเหนือกว่ายืดความได้เปรียบออกไปอีกนานหน่อย
และพวก operation ที่อเมริกาจะเริ่มก็ทำไม่ได้ แต่เอาเข้าจริงต่อให้เรือบรรทุกเครื่องบินอยู่ในฐานทัพ ญี่ปุ่นก็ไม่ใช่ว่าจะทำลาย
ได้หมด (คนตั้งคำถามแค่กำหนดเอาเอง) มันจะทำไม่ได้หรอกเพราะเครื่องบินญี่ปุ่นน้อยไป และที่จริงนักบินผู้ควบคุมการโจมตี
ในอากาศได้สำรวจความเสียหายแล้วเสนอให้โจมตีระลอกสามอีก แต่ทางกองเรือไม่เอาด้วยเพราะญี่ปุ่นยังมีภารกิจต้องใช้
กองเรือบรรทุกเครื่องบินเพื่อปฏิบัติการสำคัญ ๆ ในที่อื่นอีกมาก การจะอ้อยอิ่งที่เพิลฮาร์เบอร์อีกย่อมเสี่ยงเกินไป เพราะญี่ปุ่น
ไม่รู้ว่ากองเรืองบันทุกเครื่องบินอเมริกาอยู่ไหนกันแน่ ตัวเองอาจโดนโจมตีเอาได้ในขณะที่กำลังโจมตีเพิลฮาร์เบอร์
มันเสี่ยงอย่างมาก
เรื่องหนึ่งที่คนทั่วไปไม่ได้ให้ความสำคัญ เขาวิเคราะห์กันหลังสงครามว่าญี่ปุ่นทำผิดมหันต์ก็คือไม่ทำลายคลังน้ำมัน
และอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเรือรบให้หมด (ที่จริงเขาก็อยากทำแต่มันไม่มีเวลาพอ กำลังก็ไม่พอด้วย หากรบต่อไป
ก็จะเสียเครื่องบินมากขึ้นเพราะเสีย surprise ไปแล้ว ทหารอเมริกาเลิกตกตลึงก็จะต่อสู้ได้ดีขึ้น
ให้รู้ไว้ด้วยว่าเรือประจันบานที่จมหรือตะแคงหรือเกยตื้น (ยกเว้นเรืออริโซนาที่ระเบิดและจมไปที่ต้องลบทิ้งไปเลย)
พวกนี้เขาซ่อมแซมในเวลาไม่นาน (บางลำก็นาน คือบางลำกู้แล้วก็ไม่อยากซ่อมเพราะมันล้าสมัยอยู่ก่อนแล้ว หรือใช้
เป็นเรือเป้าก็มี) กลับมาประจำการต่อไปได้ เขาบอกว่าหากทำลายคลังน้ำมันกับเครื่องมืออุปกรณ์
ประจำอู่ซ่อมแซม หรือใช้กับท่าเรือ อเมริกาจะไม่สามารถปฏิบัติการได้จากเพิลฮาร์เบอร์อีกนานมาก และจะต้องไปใช้
ฐานทัพที่รัฐแคลิฟอร์เนียเป็นหลักเพื่อใช้ต่อสู้ด้านแปซิฟิก ระยะทางมันจะไกลมากทำอะไรไม่สะดวก
และญี่ปุ่นก็ไม่คิดที่จะส่งกำลังไปโจมตีเพิลฮาร์เบอร์อีกเลยเพราะมันจะโจมตีไม่รู้ตัวไม่ได้อีกแล้ว ทำได้แค่ครั้งเดียวก็
เหลือเชื่อแล้ว
แต่ไม่ว่าอย่างไรต่อให้ญี่ปุ่นทำลายได้ทั้งหมดก็จะสกัดอเมริกาได้ผลสักปีครึ่งถึงสองปีเต็ม ๆ แต่ต่อจากนั้นอเมริกา
จะระดมต่อเรือรบเพิ่มอย่างมาก และที่สูญเสียไปน้นจะชดเชยได้หมดและมากกว่าเก่าเสียอีก และก็จะย้ายกำลังจากแอตแลนติก
มาด้านแปซิฟิกแทนได้ส่วนหนึ่ง ท้ายสุดแล้วญี่ปุ่นก็สู้ไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะฐานอุตสาหกรรมไม่แข็งแกร่งพอต้อง
อาศัยวัตถุดิบ เหล็กและน้ำมันจากที่ไกลบ้านตัวเองมากประกอบกับกองเรือบรรทุกสินค้ามีไม่พอ มีจุดอ่อนการส่ง
กำลังบำรุงมาก เรื่องการทำลายเรือสินค้าญี่ปุ่นกับอเมริกามีแนวคิดต่างกันในการใช้เรือดำน้ำ ญี่ปุ่นจะเน้นใช้ทำลาย
เรือรบเป็นหลัก แต่อเมริกาเน้นทำลายเรือบรรทุกสินค้าเพื่อให้เกิดปัญหาการส่งกำลังบำรุงมากกว่า เมื่อรบนานเข้า
จะหาเรือบรรทุกสินค้าได้น้อยจนขาดแคลนไม่พอใช้เลยตอนหลังหันไปใช้เรือดำน้ำขนส่งให้ฐานไกล ๆ แทน แต่มัน
ได้น้อยไม่พอหรอก (เขามีตัวเลขเปรียบเทียบจำนวนตันที่เรือดำน้ำทั้งสองฝ่ายจมเรือสินค้าฝ่ายตรงข้ามแล้ว
ปรากฎว่าอเมริกาจมได้มากกว่าอย่างเทียบไม่ไ้ดเลย)
Allied submarines in the Pacific War
Allied submarines were used extensively during the Pacific War and were a key contributor to the defeat of the Empire of Japan.
During the war, submarines of the United States Navy were responsible for 55% of Japan's merchant marine losses; other Allied navies added to the toll.[1] The war against shipping was the single most decisive factor in the collapse of the Japanese economy. Allied submarines also sank a large number of Imperial Japanese Army (IJA) troop transports, killing many thousands of Japanese soldiers and hampering the deployment of IJA reinforcements during the battles on the Pacific islands.
https://en.wikipedia.org/wiki/Allied_submarines_in_the_Pacific_War
Postwar records compiled by the Joint Army-Navy Assessment Committee indicate Japan lost 686 warships of 500 gross tons (GRT) or larger, 2,346 merchantmen, and a total of 10.5 million GRT to submarines during 1,600 war patrols. Only 1.6 percent of the total U.S. naval manpower was responsible for America's success on its Pacific high seas; more than half of the tonnage sunk was credited to U.S. submarines. The tremendous accomplishments of American submarines were achieved at the expense of 52 subs with 374 officers and 3,131 enlisted volunteers lost during combat against Japan; Japan lost 128 submarines during the Second World War in Pacific waters. American casualty counts represent 16 percent of the U.S. operational submarine officer corps and 13 percent of its enlisted force.
http://npshistory.com/publications/wapa/npswapa/extContent/wapa/guides/offensive/sec6.htm
America's Undersea War on Shipping
https://www.usni.org/magazines/naval-history-magazine/2014/december/americas-undersea-war-shipping
และพวก operation ที่อเมริกาจะเริ่มก็ทำไม่ได้ แต่เอาเข้าจริงต่อให้เรือบรรทุกเครื่องบินอยู่ในฐานทัพ ญี่ปุ่นก็ไม่ใช่ว่าจะทำลาย
ได้หมด (คนตั้งคำถามแค่กำหนดเอาเอง) มันจะทำไม่ได้หรอกเพราะเครื่องบินญี่ปุ่นน้อยไป และที่จริงนักบินผู้ควบคุมการโจมตี
ในอากาศได้สำรวจความเสียหายแล้วเสนอให้โจมตีระลอกสามอีก แต่ทางกองเรือไม่เอาด้วยเพราะญี่ปุ่นยังมีภารกิจต้องใช้
กองเรือบรรทุกเครื่องบินเพื่อปฏิบัติการสำคัญ ๆ ในที่อื่นอีกมาก การจะอ้อยอิ่งที่เพิลฮาร์เบอร์อีกย่อมเสี่ยงเกินไป เพราะญี่ปุ่น
ไม่รู้ว่ากองเรืองบันทุกเครื่องบินอเมริกาอยู่ไหนกันแน่ ตัวเองอาจโดนโจมตีเอาได้ในขณะที่กำลังโจมตีเพิลฮาร์เบอร์
มันเสี่ยงอย่างมาก
เรื่องหนึ่งที่คนทั่วไปไม่ได้ให้ความสำคัญ เขาวิเคราะห์กันหลังสงครามว่าญี่ปุ่นทำผิดมหันต์ก็คือไม่ทำลายคลังน้ำมัน
และอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเรือรบให้หมด (ที่จริงเขาก็อยากทำแต่มันไม่มีเวลาพอ กำลังก็ไม่พอด้วย หากรบต่อไป
ก็จะเสียเครื่องบินมากขึ้นเพราะเสีย surprise ไปแล้ว ทหารอเมริกาเลิกตกตลึงก็จะต่อสู้ได้ดีขึ้น
ให้รู้ไว้ด้วยว่าเรือประจันบานที่จมหรือตะแคงหรือเกยตื้น (ยกเว้นเรืออริโซนาที่ระเบิดและจมไปที่ต้องลบทิ้งไปเลย)
พวกนี้เขาซ่อมแซมในเวลาไม่นาน (บางลำก็นาน คือบางลำกู้แล้วก็ไม่อยากซ่อมเพราะมันล้าสมัยอยู่ก่อนแล้ว หรือใช้
เป็นเรือเป้าก็มี) กลับมาประจำการต่อไปได้ เขาบอกว่าหากทำลายคลังน้ำมันกับเครื่องมืออุปกรณ์
ประจำอู่ซ่อมแซม หรือใช้กับท่าเรือ อเมริกาจะไม่สามารถปฏิบัติการได้จากเพิลฮาร์เบอร์อีกนานมาก และจะต้องไปใช้
ฐานทัพที่รัฐแคลิฟอร์เนียเป็นหลักเพื่อใช้ต่อสู้ด้านแปซิฟิก ระยะทางมันจะไกลมากทำอะไรไม่สะดวก
และญี่ปุ่นก็ไม่คิดที่จะส่งกำลังไปโจมตีเพิลฮาร์เบอร์อีกเลยเพราะมันจะโจมตีไม่รู้ตัวไม่ได้อีกแล้ว ทำได้แค่ครั้งเดียวก็
เหลือเชื่อแล้ว
แต่ไม่ว่าอย่างไรต่อให้ญี่ปุ่นทำลายได้ทั้งหมดก็จะสกัดอเมริกาได้ผลสักปีครึ่งถึงสองปีเต็ม ๆ แต่ต่อจากนั้นอเมริกา
จะระดมต่อเรือรบเพิ่มอย่างมาก และที่สูญเสียไปน้นจะชดเชยได้หมดและมากกว่าเก่าเสียอีก และก็จะย้ายกำลังจากแอตแลนติก
มาด้านแปซิฟิกแทนได้ส่วนหนึ่ง ท้ายสุดแล้วญี่ปุ่นก็สู้ไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะฐานอุตสาหกรรมไม่แข็งแกร่งพอต้อง
อาศัยวัตถุดิบ เหล็กและน้ำมันจากที่ไกลบ้านตัวเองมากประกอบกับกองเรือบรรทุกสินค้ามีไม่พอ มีจุดอ่อนการส่ง
กำลังบำรุงมาก เรื่องการทำลายเรือสินค้าญี่ปุ่นกับอเมริกามีแนวคิดต่างกันในการใช้เรือดำน้ำ ญี่ปุ่นจะเน้นใช้ทำลาย
เรือรบเป็นหลัก แต่อเมริกาเน้นทำลายเรือบรรทุกสินค้าเพื่อให้เกิดปัญหาการส่งกำลังบำรุงมากกว่า เมื่อรบนานเข้า
จะหาเรือบรรทุกสินค้าได้น้อยจนขาดแคลนไม่พอใช้เลยตอนหลังหันไปใช้เรือดำน้ำขนส่งให้ฐานไกล ๆ แทน แต่มัน
ได้น้อยไม่พอหรอก (เขามีตัวเลขเปรียบเทียบจำนวนตันที่เรือดำน้ำทั้งสองฝ่ายจมเรือสินค้าฝ่ายตรงข้ามแล้ว
ปรากฎว่าอเมริกาจมได้มากกว่าอย่างเทียบไม่ไ้ดเลย)
Allied submarines in the Pacific War
Allied submarines were used extensively during the Pacific War and were a key contributor to the defeat of the Empire of Japan.
During the war, submarines of the United States Navy were responsible for 55% of Japan's merchant marine losses; other Allied navies added to the toll.[1] The war against shipping was the single most decisive factor in the collapse of the Japanese economy. Allied submarines also sank a large number of Imperial Japanese Army (IJA) troop transports, killing many thousands of Japanese soldiers and hampering the deployment of IJA reinforcements during the battles on the Pacific islands.
https://en.wikipedia.org/wiki/Allied_submarines_in_the_Pacific_War
Postwar records compiled by the Joint Army-Navy Assessment Committee indicate Japan lost 686 warships of 500 gross tons (GRT) or larger, 2,346 merchantmen, and a total of 10.5 million GRT to submarines during 1,600 war patrols. Only 1.6 percent of the total U.S. naval manpower was responsible for America's success on its Pacific high seas; more than half of the tonnage sunk was credited to U.S. submarines. The tremendous accomplishments of American submarines were achieved at the expense of 52 subs with 374 officers and 3,131 enlisted volunteers lost during combat against Japan; Japan lost 128 submarines during the Second World War in Pacific waters. American casualty counts represent 16 percent of the U.S. operational submarine officer corps and 13 percent of its enlisted force.
http://npshistory.com/publications/wapa/npswapa/extContent/wapa/guides/offensive/sec6.htm
America's Undersea War on Shipping
https://www.usni.org/magazines/naval-history-magazine/2014/december/americas-undersea-war-shipping
แสดงความคิดเห็น
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าญี่ปุ่นทิ้งระเบิดใส่เพิลฮาเบอร์เเล้วไม่เหลือเรือซักลำ
หรือ อเมริกาในสมัยนั้นมีกำลังผลิตมากพอจะสร้าลำใหม่มาทันใช้รึป่าว