คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 23
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 17 สิงหาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 24,100,631 โดส และทั่วโลกแล้ว 4,740 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 211.88 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 78.4%”
(17 สิงหาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 4,740 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 37 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 357 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 169 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 211.88 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.6% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 84.14 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 24,100,631 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 54.73%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 4,740 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 24,100,631 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 18,370,997 โดส (27.8% ของประชากร)
-เข็มสอง 5,228,157 โดส (7.9% ของประชากร)
-เข็มสาม 501,477 โดส (0.8% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 17 ส.ค. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 24,100,631 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 508,498 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 418,110 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 7,949,935 โดส
- เข็มที่ 2 3,449,518 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 8,911,490 โดส
- เข็มที่ 2 1,146,293 โดส
- เข็มที่ 3 197,511 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 1,429,136 โดส
- เข็มที่ 2 607,682 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 80,436 โดส
- เข็มที่ 2 24,664 โดส
- เข็มที่ 3 303,966 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 120.4% เข็มที่2 104% เข็มที่3 70.4%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 51.8% เข็มที่2 31.1% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 57% เข็มที่2 25.9% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 38.1% เข็มที่1 6.8% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 33.9% เข็มที่2 10% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 35.4% เข็มที่2 3% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 2.4% เข็มที่2 0.1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 36.7% เข็มที่2 10.5% เข็มที่3 1%
5) จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 57% เข็มที่2 13.4% เข็มที่3 1% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 78.4% เข็มที่2 17.2% เข็มที่3 1.4%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 36% เข็มที่2 14.1% เข็มที่3 0.5%
- นนทบุรี เข็มที่1 36.5% เข็มที่2 12.3% เข็มที่3 0.6%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 37.9% เข็มที่2 7.5% เข็มที่3 0.5%
- ปทุมธานี เข็มที่1 33.9% เข็มที่2 7.7% เข็มที่3 0.4%
- นครปฐม เข็มที่1 21.9% เข็มที่2 5.5% เข็มที่3 0.6%
จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 17.3% เข็มที่2 5.7% เข็มที่3 0.6%
- ชลบุรี เข็มที่1 29.8% เข็มที่2 9.3% เข็มที่3 0.9%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 17.9% เข็มที่2 4.7% เข็มที่3 0.4%
- สงขลา เข็มที่1 23.5% เข็มที่2 7.5% เข็มที่3 1.1%
- ยะลา เข็มที่1 27.1% เข็มที่2 8.1% เข็มที่3 0.6%
- ปัตตานี เข็มที่1 20.3% เข็มที่2 6.3% เข็มที่3 0.5%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 40.5% เข็มที่2 5.6% เข็มที่3 0.6%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 211,882,828 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 84,141,599 โดส (19.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 28,312,631 โดส (52.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 28,308,493 โดส (14.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 24,100,631 โดส (27.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. กัมพูชา จำนวน 16,686,145 โดส (53.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
6. เวียดนาม จำนวน 14,666,708 โดส (13.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,676,878 โดส (76.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 3,500,000 โดส (N/A* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 3,267,384 โดส (23.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 222,359 โดส (37.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 66.75%
2. อเมริกาเหนือ 11.17%
3. ยุโรป 13.37%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.54%
5. แอฟริกา 1.77%
6. โอเชียเนีย 0.40%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 1,862.93 ล้านโดส (66.5% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 545.86 ล้านโดส (20%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 357.29 ล้านโดส (55.8%)
4. บราซิล จำนวน 164.64 ล้านโดส (40.2%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 109.91 ล้านโดส (43.6%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (85.2% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. บาห์เรน (81.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (80.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. สิงคโปร์ (76.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
5. กาตาร์ (74%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
6. อุรุกวัย (71.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
7. เดนมาร์ก (70.2%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
8. ชิลี (69.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
9. แคนาดา (68.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford Moderna และ Pfizer/BioNTech)
10. ภูฏาน (68.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Moderna)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://web.facebook.com/nrctofficial/posts/4071147216344153
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. - 17 ส.ค. 2564)
รวม 24,618,749 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 17 สิงหาคม 2564
ยอดฉีดทั่วประเทศ 518,118 โดส
เข็มที่ 1 : 355,408 ราย
เข็มที่ 2 : 153,519 ราย
เข็มที่ 3 : 9,191 ราย
----------------------------
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 18,726,405 ราย
(จำนวนผู้ได้รับวัคซีนทั้งหมด)
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 5,381,676 ราย
(จำนวนผู้ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์)
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 510,668 ราย
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/388650479419949
กทม. สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 40 )
คณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร มีมติเห็นชอบปรับการบังคับใช้บางมาตรการ เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชนทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ภายใต้มาตรการป้องกันและควบคุมโรคอย่างเคร่งครัด ดังต่อไปนี้
1.ปิดสถานที่ต่อ ตามประกาศเดิมที่ระบุไว้ในประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว ฉบับที่ 32, 34, 35, 36, 37, 38 และ 39
โดยให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดตามความมาตรา 9 แห่งพ.ร.ก. การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ฉบับที่ 28
2. ให้เปิดกิจการประเภทธนาคาร สถาบันการเงิน (ธุรกิจลิสซิ่ง บัตรเครดิต หรือการให้สินเชื่อ) ในศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้าได้ ไม่เกินเวลา 20.00 น.
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 18 - 31 สิงหาคม 2564 หรือจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น
อ่านเพิ่มเติม: http://prbangkok.com/th/post/view/MDY1cDBzNnM0NHIyb3Ezc3E2NnEyNDk0cDRyOTQzcjQ5MzU2Mg==
ที่มา : กรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานประชาสัมพันธ์
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/388627696088894
ครั้งแรกในไทย! เปิดจุดฉีดวัคซีนโควิด ที่ รพ.สต. – หน่วยเคลื่อนที่
ลดแออัด เข้าถึงประชาชนเร็วขึ้น
กระทรวงสาธารณสุข นำร่องแนวทางการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ใน รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และหน่วยฉีดวัคซีนเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ครั้งแรกในประเทศ โริ่มแล้ววันนี้ ที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ต.หนองสาหร่าย อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา พร้อมการส่งทีมแพทย์เข้าไปฉีดวัคซีนให้ผู้ป่วยติดเตียงถึงบ้าน ซึ่งหลังจากนี้จะทยอยเปิดเพิ่มอีกที่ รพ.สต. ทั่วประเทศ
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ไม่ต้องเดินทางไกล ลดความแออัด ให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงวัคซีนได้อย่างครอบคลุมและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ที่มา : สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/388684612749869
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 17 สิงหาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 24,100,631 โดส และทั่วโลกแล้ว 4,740 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 211.88 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 78.4%”
(17 สิงหาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 4,740 ล้านโดส ใน 203 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 37 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 357 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 169 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 211.88 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (76.6% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 84.14 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 24,100,631 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 54.73%
ในการฉีดวัคซีน จำนวน 4,740 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1) ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 24,100,631 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 18,370,997 โดส (27.8% ของประชากร)
-เข็มสอง 5,228,157 โดส (7.9% ของประชากร)
-เข็มสาม 501,477 โดส (0.8% ของประชากร)
2) อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 17 ส.ค. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 24,100,631 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 508,498 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 418,110 โดส/วัน
3) อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 7,949,935 โดส
- เข็มที่ 2 3,449,518 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 8,911,490 โดส
- เข็มที่ 2 1,146,293 โดส
- เข็มที่ 3 197,511 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 1,429,136 โดส
- เข็มที่ 2 607,682 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 80,436 โดส
- เข็มที่ 2 24,664 โดส
- เข็มที่ 3 303,966 โดส
4) การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 120.4% เข็มที่2 104% เข็มที่3 70.4%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 51.8% เข็มที่2 31.1% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 57% เข็มที่2 25.9% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 38.1% เข็มที่1 6.8% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 33.9% เข็มที่2 10% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 35.4% เข็มที่2 3% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 2.4% เข็มที่2 0.1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 36.7% เข็มที่2 10.5% เข็มที่3 1%
5) จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 57% เข็มที่2 13.4% เข็มที่3 1% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 78.4% เข็มที่2 17.2% เข็มที่3 1.4%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 36% เข็มที่2 14.1% เข็มที่3 0.5%
- นนทบุรี เข็มที่1 36.5% เข็มที่2 12.3% เข็มที่3 0.6%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 37.9% เข็มที่2 7.5% เข็มที่3 0.5%
- ปทุมธานี เข็มที่1 33.9% เข็มที่2 7.7% เข็มที่3 0.4%
- นครปฐม เข็มที่1 21.9% เข็มที่2 5.5% เข็มที่3 0.6%
จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 17.3% เข็มที่2 5.7% เข็มที่3 0.6%
- ชลบุรี เข็มที่1 29.8% เข็มที่2 9.3% เข็มที่3 0.9%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 17.9% เข็มที่2 4.7% เข็มที่3 0.4%
- สงขลา เข็มที่1 23.5% เข็มที่2 7.5% เข็มที่3 1.1%
- ยะลา เข็มที่1 27.1% เข็มที่2 8.1% เข็มที่3 0.6%
- ปัตตานี เข็มที่1 20.3% เข็มที่2 6.3% เข็มที่3 0.5%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 40.5% เข็มที่2 5.6% เข็มที่3 0.6%
6) ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 211,882,828 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 84,141,599 โดส (19.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. มาเลเซีย จำนวน 28,312,631 โดส (52.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 28,308,493 โดส (14.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. ไทย จำนวน 24,100,631 โดส (27.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
5. กัมพูชา จำนวน 16,686,145 โดส (53.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
6. เวียดนาม จำนวน 14,666,708 โดส (13.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
7. สิงคโปร์ จำนวน 8,676,878 โดส (76.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
8. พม่า จำนวน 3,500,000 โดส (N/A* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
9. ลาว จำนวน 3,267,384 โดส (23.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 222,359 โดส (37.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ
7) จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 66.75%
2. อเมริกาเหนือ 11.17%
3. ยุโรป 13.37%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.54%
5. แอฟริกา 1.77%
6. โอเชียเนีย 0.40%
8) ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 1,862.93 ล้านโดส (66.5% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 545.86 ล้านโดส (20%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 357.29 ล้านโดส (55.8%)
4. บราซิล จำนวน 164.64 ล้านโดส (40.2%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 109.91 ล้านโดส (43.6%)
9) ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (85.2% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. บาห์เรน (81.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (80.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. สิงคโปร์ (76.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
5. กาตาร์ (74%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
6. อุรุกวัย (71.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
7. เดนมาร์ก (70.2%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech และ J&J)
8. ชิลี (69.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
9. แคนาดา (68.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford Moderna และ Pfizer/BioNTech)
10. ภูฏาน (68.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Moderna)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
https://web.facebook.com/nrctofficial/posts/4071147216344153
จำนวนการได้รับวัคซีนสะสม (28 ก.พ. - 17 ส.ค. 2564)
รวม 24,618,749 โดส ใน 77 จังหวัด
ภาพรวมยอดฉีดวัคซีน วันที่ 17 สิงหาคม 2564
ยอดฉีดทั่วประเทศ 518,118 โดส
เข็มที่ 1 : 355,408 ราย
เข็มที่ 2 : 153,519 ราย
เข็มที่ 3 : 9,191 ราย
----------------------------
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 1 สะสม : 18,726,405 ราย
(จำนวนผู้ได้รับวัคซีนทั้งหมด)
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 2 สะสม : 5,381,676 ราย
(จำนวนผู้ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์)
จำนวนผู้ได้รับวัคซีน เข็มที่ 3 สะสม : 510,668 ราย
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/388650479419949
กทม. สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 40 )
คณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร มีมติเห็นชอบปรับการบังคับใช้บางมาตรการ เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชนทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ภายใต้มาตรการป้องกันและควบคุมโรคอย่างเคร่งครัด ดังต่อไปนี้
1.ปิดสถานที่ต่อ ตามประกาศเดิมที่ระบุไว้ในประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว ฉบับที่ 32, 34, 35, 36, 37, 38 และ 39
โดยให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดตามความมาตรา 9 แห่งพ.ร.ก. การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ฉบับที่ 28
2. ให้เปิดกิจการประเภทธนาคาร สถาบันการเงิน (ธุรกิจลิสซิ่ง บัตรเครดิต หรือการให้สินเชื่อ) ในศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้าได้ ไม่เกินเวลา 20.00 น.
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 18 - 31 สิงหาคม 2564 หรือจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น
อ่านเพิ่มเติม: http://prbangkok.com/th/post/view/MDY1cDBzNnM0NHIyb3Ezc3E2NnEyNDk0cDRyOTQzcjQ5MzU2Mg==
ที่มา : กรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานประชาสัมพันธ์
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/388627696088894
ครั้งแรกในไทย! เปิดจุดฉีดวัคซีนโควิด ที่ รพ.สต. – หน่วยเคลื่อนที่
ลดแออัด เข้าถึงประชาชนเร็วขึ้น
กระทรวงสาธารณสุข นำร่องแนวทางการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ใน รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และหน่วยฉีดวัคซีนเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ครั้งแรกในประเทศ โริ่มแล้ววันนี้ ที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ต.หนองสาหร่าย อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา พร้อมการส่งทีมแพทย์เข้าไปฉีดวัคซีนให้ผู้ป่วยติดเตียงถึงบ้าน ซึ่งหลังจากนี้จะทยอยเปิดเพิ่มอีกที่ รพ.สต. ทั่วประเทศ
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ไม่ต้องเดินทางไกล ลดความแออัด ให้ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงวัคซีนได้อย่างครอบคลุมและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ที่มา : สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
https://web.facebook.com/informationcovid19/posts/388684612749869
แสดงความคิดเห็น
🇹🇭มาลาริน🎀 วันนี้18ส.ค.ป่วย20,515คน รักษาหาย22,682คน เสียชีวิต312คนรวมยอดตกหล่น ส่วนใหญ่ไม่ได้รับวัคซีน/77จว.ติดเชื้อ
https://www.komchadluek.net/hot-social/479241
สธ.แจง นิวไฮตาย 312 ราย ไม่ใช่ยอดวันเดียว มียอดตกหล่นนับร้อย
บางรายตกหล่นตั้งแต่ เม.ย. เหตุเพิ่งแจ้งผลชันสูตร และพบว่าในจำนวนผู้เสียชีวิต 312 ราย เป็นผู้ไม่เคยรับวัคซีนโควิด-19 รวม 147 ราย คิดเป็น 47% และรับเข็มที่ 1 เพียง 33 ราย คิดเป็น 8% ยังรอตรวจสอบอีก132 ราย คิดเป็น 42% สธ.ย้ำกลุ่มเสี่ยง ทั้งผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ อย่าลังเลในการเข้ารับการฉีดวัคซีนเพื่อลดความรุนแรงหากติดเชื้อ
วันที่ 18 ส.ค.2564 ที่กระทรวงสาธารณสุข นพ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค แถลงข่าวสถานการณ์โรคโควิด19 ว่า สำหรับผู้ป่วยติดเชื้อวันนี้ 20,515 ราย เสียชีวิต 312 ราย ซึ่งกรณีตัวเลขเสียชีวิตนั้นจะมีการดูย้อนหลังโดยในจำนวน 312 รายไม่ใช่เพิ่งเสียชีวิต 1-2 วัน แต่พบว่ามีประมาณ 100 ราย ในเกือบ 20 จังหวัด มีการรายงานล่าช้าเนื่องจากบางรายต้องรอผลชันสูตรทำให้รายงานเข้ามาช้า โดยมี 50 ราย พบข้อมูลวันที่เสียชีวิตก่อนเดือน ส.ค. บางรายย้อนหลังไปจนถึงเดือน เม.ย. และอีก 50 ราย เสียชีวิตช่วงต้นเดือน ส.ค. เนื่องจากบางรายไม่ได้เข้าโรงพยาบาล แต่มีการเสียชีวิต จึงต้องชันสูตรหาสาเหตุ ซึ่งก็เจอว่าติดเชื้อโควิด-19 ซี่งแปลว่า หากไม่รวมจำนวนตกหล่น ยอดการเสียชีวิตจะอยู่ที่ 212 ราย
นอกจากนี้ยังพบว่าในจำนวนผู้เสียชีวิต 312 ราย เป็นผู้ไม่เคยรับวัคซีนโควิด-19 รวม 147 ราย คิดเป็น 47% ซึ่งมี 1 ราย เป็นบุคลากรสาธารณสุขด่านหน้า เวรเปล รพ.แม่สอด โดยมีโรคประจำตัวที่เป็นความเสี่ยงด้านสุขภาพ ซึ่งต้องขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน ส่วนผู้เสียชีวิตที่ได้รับวัคซีนแล้วเพียงเข็มที่ 1 มี 33 ราย คิดเป็น 8% ซึ่งปกติการหวังประสิทธิภาพ ประสิทธิผลจากการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันป่วยหนักและเสียชีวิต ต้องฉีดครบสูตรตามกำหนดและนับหลังจากเข็มที่ 2 ครบแล้วไปอีก 14 วัน จึงจะเกิดภูมิคุ้มกันที่เพียงพอ และอีก 132 ราย คิดเป็น 42% อยู่ระหว่างตรวจสอบข้อมูล ซึ่งเมื่อตัดกลุ่มที่รอการตรวจสอบ จะพบว่าทั้งหมดที่เสียชีวิตเป็นผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนนั่นเอง จึงจำเป็นต้องย้ำโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ อย่าลังเลในการเข้ารับการฉีดวัคซีน เพราะในทางวิชาการแล้ววัคซีนมีความปลอดภัย มีประสิทธิผลสูง ทำให้เราปลอดภัยจากโควิดไปด้วยกันนั่นเอง
https://siamrath.co.th/n/272542
กว่าครึ่งปท.ติดเชื้อใหม่ยังเกินร้อย "กทม." 4,154 ราย
"สมุทรสาคร-สมุทรปราการ-ชลฯ" ยืน 4 หลัก
เมื่อวันที่ 18 ส.ค.64 ศูนย์ข้อมูลโควิด-19 รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ข้อมูลวันที่ 18 ส.ค.64 เวลา 01.00 น. พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ ทั้ง 77 จังหวัด โดยจังหวัดที่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงที่สุดคือ กทม. 4,157 ราย ตามด้วยอีก 3 จังหวัดที่ยังอยู่ในหลักพันคือ สมุทรสาคร 1,820 ราย สมุทรปราการ 1,335 และชลบุรี 1,206 ราย จังหวัดที่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่น้อยที่สุดคือ แม่ฮ่องสอน 1 ราย โดยมี 43 จังหวัดที่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อย มากที่สุดที่ภาคกลาง 14 จังหวัด ตามด้วยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 จังหวัด ภาคใต้ 7 จังหวัด ภาคตะวันออก 6 จังหวัด ภาคตะวันตก 4 จังหวัด ขณะภาคเหนือ ยังไม่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อย ยังคงอยู่ในหลักสิบ
ภาคกลาง 14 จังหวัดพบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยได้แก่ กทม. สมุทรสาคร สมุทรปราการ นนทบุรี นครปฐม พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี สระบุรี นครนายก สมุทรสงคราม เพชรบูรณ์ ลพบุรี สุพรรณบุรี นครสวรรค์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 จังหวัดพบผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยได้แก่ นครราชสีมา ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี สุรินทร์ มหาสารคาม ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ สกลนคร ยโสธร
ภาคใต้ ผู้ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อย 7 จังหวัดคือ นราธิวาส สงขลา ปัตตานี ยะลา ระนอง สุราษฎร์ธานี และชุมพร
ภาคตะวันออก ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อย 6 จังหวัดคือ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง ปราจีนบุรี สระแก้ว และจันทบุรี
ภาคตะวันตก ติดเชื้อรายใหม่เกินร้อยใน 4 จังหวัดคือ ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก และเพชรบุรี
https://siamrath.co.th/n/272469
วันนี้หายป่วยมากกว่าป่วยใหม่อีกแล้วค่ะ
ทุกคนดูแลตัวเองให้ปลอดภัย หยุดเชื้อเพื่อชาตินะคะ