คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ขั้นตอนการแก้โจทย์ (ควรคิดในกระดาษทดก่อน)
1) วาดภาพ free body diagram ว่ามีแรงอะไรกระทำบ้าง มีมุม ทิศทาง และความเร่ง เป็นอย่างไร ตัวแปรไหนไม่ทราบปริมาณให้ติดตัวแปรไว้
2) กรณีพื้นเอียง แตกแรงตามแกนขนานพื้นเอียง และแกนตั้งฉากพื้นเอียง
(ถ้าโจทย์ตามปกติ จะนิยมแตกแรงตามแกนแนวราบกับแกนแนวดิ่ง)
3) แรงตึงเชือกรวมเท่ากับแรงที่ดึงรอกในแกนแนวดิ่ง
4) มวลที่ผูกเชือกติดกันจะมีความเร่ง a เท่ากัน
5) แก้สมการสมดุลแรงตามแกนขนานพื้นเอียง และสมดุลแรงตามแกนตั้งฉากพื้นเอียง โดยใช้สูตร ΣF = ma
(ถ้าโจทย์ตามปกติ จะนิยมใช้สมดุลแรงตามแกนแนวราบ กับสมดุลแรงตามแกนแนวดิ่ง)
*** ถ้าหาสมดุลแรงที่ทำให้วัตถุหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ใช้สูตร ΣF = 0 ***
6) การหาขนาดแรงลัพธ์รวมกันทั้งสองแกน
ใช้สูตรพีทาโกรัส F = √(Fx²+Fy²)
การแตกแรง Fx = Fcos(θ) , Fy = Fsin(θ)
(ถ้าพื้นเอียง ให้ปรับกรอบอ้างอิงแกน x-y เอียงตามพื้นเอียงเพื่อให้คำนวณง่ายขึ้น)
ตัวอย่างสมมติ การวาดภาพ free body diagram กรณีมวล m ถูกลากขึ้นพื้นเอียง
1) วาดภาพ free body diagram ว่ามีแรงอะไรกระทำบ้าง มีมุม ทิศทาง และความเร่ง เป็นอย่างไร ตัวแปรไหนไม่ทราบปริมาณให้ติดตัวแปรไว้
2) กรณีพื้นเอียง แตกแรงตามแกนขนานพื้นเอียง และแกนตั้งฉากพื้นเอียง
(ถ้าโจทย์ตามปกติ จะนิยมแตกแรงตามแกนแนวราบกับแกนแนวดิ่ง)
3) แรงตึงเชือกรวมเท่ากับแรงที่ดึงรอกในแกนแนวดิ่ง
4) มวลที่ผูกเชือกติดกันจะมีความเร่ง a เท่ากัน
5) แก้สมการสมดุลแรงตามแกนขนานพื้นเอียง และสมดุลแรงตามแกนตั้งฉากพื้นเอียง โดยใช้สูตร ΣF = ma
(ถ้าโจทย์ตามปกติ จะนิยมใช้สมดุลแรงตามแกนแนวราบ กับสมดุลแรงตามแกนแนวดิ่ง)
*** ถ้าหาสมดุลแรงที่ทำให้วัตถุหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ใช้สูตร ΣF = 0 ***
6) การหาขนาดแรงลัพธ์รวมกันทั้งสองแกน
ใช้สูตรพีทาโกรัส F = √(Fx²+Fy²)
การแตกแรง Fx = Fcos(θ) , Fy = Fsin(θ)
(ถ้าพื้นเอียง ให้ปรับกรอบอ้างอิงแกน x-y เอียงตามพื้นเอียงเพื่อให้คำนวณง่ายขึ้น)
ตัวอย่างสมมติ การวาดภาพ free body diagram กรณีมวล m ถูกลากขึ้นพื้นเอียง

แสดงความคิดเห็น
ช่วยผมคิดโจทย์ฟิสิกส์2ข้อนี่หน่อยนะครับ เรื่องเเรงเเละการเคลื่อนที่