กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
1. การข่มขืนในมิติละครไทย ควรเพิ่มใส่เนื้อหาในชั้น ป.6 ส่วนของการพูดโน้มน้าวใจ ม.3 ส่วนของการพูดโต้วาที และ ม.6 ส่วนของการแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และการแสดงเหตุผล
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มใส่เนื้อหาเรื่อง สถิติ ในชั้น ม.1-3, ม.6 ว่าด้วยอัตราส่วนของจำนวนผู้ป่วย อัตราส่วนของผู้เสียชีวิต สถิติระหว่างจำนวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มใส่เนื้อหารายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม ว่าด้วยสารพันธุกรรมจากเชื้อโรค
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
1. สถานการณ์วิกฤตการทางการเมือง ควรเพิ่มเนื้อหาในส่วนของการเมืองการปกครองในชั้น ม.1-6 โดยเฉพาะชั้น ม.3 เป็นส่วนใหญ่
2. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเนื้อหาในส่วนของประวัติศาสตร์สากลในชั้น ม.4-6
3. การข่มขืนในละครไทย ควรเพิ่มเนื้อหาในส่วนของสิทธิมนุษยชนในชั้น ม.3-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรคในชั้น ป.6, ม.3, ม.4-6
2. การข่มขืนในละครไทย ควรเพิ่มเติมในเนื้อหาความรุนแรงในสังคมของชั้น ม.4-6 และเนื้อหาส่วนของเพศวิถีศึกษาของชั้น ป.1-ม.6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
:ไม่มี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนของงานธุรกิจและงานอาชีพในชั้น ม.1-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเติมเนื้อหาในสาระสำคัญของบทสนทนา หลักไวยากรณ์ และการอ่าน เขียน รวมทั้งคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
2. การข่มขืนในมิติละครไทย ควรเพิ่มเติมเป็นเอกสารการเรียนการสอนแปลเป็นภาษาอังกฤษ
สรุป:
1. สถานการณ์โรคระบาด จะเพิ่มเติมเนื้อหาในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และภาษาต่างประเทศ
2. การข่มขืนในมิติละครไทย จะเพิ่มเติมในเนื้อหาในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา และภาษาต่างประเทศ
3. สถานการณ์วิกฤตการณ์ทางการเมือง จะเพิ่มเติมเนื้อหาในวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชวนทุกท่านร่วมใส่เนื้อหาในหนังสือเรียนหลักสูตร
1. การข่มขืนในมิติละครไทย ควรเพิ่มใส่เนื้อหาในชั้น ป.6 ส่วนของการพูดโน้มน้าวใจ ม.3 ส่วนของการพูดโต้วาที และ ม.6 ส่วนของการแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และการแสดงเหตุผล
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มใส่เนื้อหาเรื่อง สถิติ ในชั้น ม.1-3, ม.6 ว่าด้วยอัตราส่วนของจำนวนผู้ป่วย อัตราส่วนของผู้เสียชีวิต สถิติระหว่างจำนวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มใส่เนื้อหารายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม ว่าด้วยสารพันธุกรรมจากเชื้อโรค
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
1. สถานการณ์วิกฤตการทางการเมือง ควรเพิ่มเนื้อหาในส่วนของการเมืองการปกครองในชั้น ม.1-6 โดยเฉพาะชั้น ม.3 เป็นส่วนใหญ่
2. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเนื้อหาในส่วนของประวัติศาสตร์สากลในชั้น ม.4-6
3. การข่มขืนในละครไทย ควรเพิ่มเนื้อหาในส่วนของสิทธิมนุษยชนในชั้น ม.3-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องโรคติดต่อและการป้องกันโรคในชั้น ป.6, ม.3, ม.4-6
2. การข่มขืนในละครไทย ควรเพิ่มเติมในเนื้อหาความรุนแรงในสังคมของชั้น ม.4-6 และเนื้อหาส่วนของเพศวิถีศึกษาของชั้น ป.1-ม.6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
:ไม่มี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนของงานธุรกิจและงานอาชีพในชั้น ม.1-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
1. สถานการณ์โรคระบาด ควรเพิ่มเติมเนื้อหาในสาระสำคัญของบทสนทนา หลักไวยากรณ์ และการอ่าน เขียน รวมทั้งคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
2. การข่มขืนในมิติละครไทย ควรเพิ่มเติมเป็นเอกสารการเรียนการสอนแปลเป็นภาษาอังกฤษ
สรุป:
1. สถานการณ์โรคระบาด จะเพิ่มเติมเนื้อหาในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และภาษาต่างประเทศ
2. การข่มขืนในมิติละครไทย จะเพิ่มเติมในเนื้อหาในวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา และภาษาต่างประเทศ
3. สถานการณ์วิกฤตการณ์ทางการเมือง จะเพิ่มเติมเนื้อหาในวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม