กลยุทธ์ และกองทัพเรือของอเมริกา กำลังแล่นอย่างมะงุมมะงาหรา อยู่ใจกลางทะเล
เพนตากอน ยังฟันธงไม่ได้ว่า จะเอาชนะ สงครามทางทะเลกับจีนได้อย่างไร
แต่กองทัพเรือสหรัฐฯ ก็ยังลอยเคว้งคว้างอยู่กลางทะเล เปรียบเสมือนดั่งพาดหัวประโยคแรก ที่บรรยายได้อีกความหมาย - America's naval strategy is at sea!
มีเรือรบ 101 ลำ ตระเวณไปทั่วโลก ซึ่งเป็นจำนวนเดียวกับในช่วงสงครามเย็น จากกองเรือทั้งหมด ที่มีเพียง 297 ลำ
ตัวเลขประมาณครึ่งหนึ่งของยุคเรแกน ที่มีเกือบ 600 ลำ
ผลต่อเนื่อง ที่ตามมาของการรักษาข้อผูกพันระดับโลกในปัจจุบัน กับกองกำลังเรือที่ขนาดเล็กลง ทำให้การประจำการยาวนานขึ้น ลูกเรือบางคนใช้เวลาเกือบหนึ่งปีในทะเล ตลอดจนการบำรุงรักษาที่มากขึ้น ใช้เวลาในการฝึกน้อยลง
ความหมายโดยนัย ที่กองทัพเรืออยู่ในทะเล กลับมีความสำคัญ และอันตรายกว่า
กองเรือ มีเรือไม่เพียงพอที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของโลก แม้ว่าสหรัฐฯ จะเผชิญกับการแข่งขันทางกองเรือ ที่เพิ่มขึ้น จากจีน รัสเซีย อิหร่าน และเกาหลีเหนือ
ฝ่ายตรงกันข้าม ที่มีศักยภาพเหล่านี้ แต่ละประเทศ มีขีปนาวุธ และเครื่องบิน ซึ่งมีจุดประสงค์เพียงอย่างเดียว เพื่อทำให้กองกำลังทางเรือของสหรัฐฯ ไม่สามารถรับมือได้
64% ของการค้าทางทะเลของจีน และ 40% ของการค้าโดยรวม แล่นผ่านทะเลจีนใต้ ซึ่งเรือของสหรัฐฯ แล่นไปมา
ความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหรัฐฯ กำลังจะเกิดขึ้น โดยจะเป็นเรื่อง ที่เกิดขึ้นทางทะเล
มันทดสอบสมรรถนะของสหรัฐฯ ในการเคลื่อนย้ายกองกำลังทางเรือ หน่วยสะเทินน้ำสะเทินบก ข้ามน้ำข้ามแปซิฟิก ระยะทาง 7,000 ไมล์ เพื่อช่วยเหลือพันธมิตร และหุ้นส่วนอื่นๆ ที่ใช้ช่องทางเดินเรือระหว่างจีน กับตะวันออกกลาง และปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อควบคุมจีนตอนใต้ จีนตะวันออก และทะเลเหลือง
กองทัพเรือจีน จะเป็นคู่กรณี ที่น่ากลัว
มีขีปนาวุธพิสัยไกล กองกำลังเรือบรรทุกเครื่องบินที่เริ่มท่องทะเล และเรือรบ พร้อมอาวุธที่ทันสมัยมากขึ้นทุกประเภท ตลอดจนความสามารถในโลกไซเบอร์ ไปถึงอวกาศ
เพียงแค่สร้างเรือรบ และเรือดำน้ำของสหรัฐฯ ให้มากยิ่งขึ้น คงไม่เพียงพอที่จะตอบสนองความท้าทายอันนี้
การคิดเชิงกลยุทธ์ และการเปลี่ยนแปลง ในการออกแบบกองเรือ รวมไปถึงยุทธวิธี จะเป็นสิ่งที่จำเป็น
ในช่วงทศวรรษที่ 1930 กองทัพเรือ และนาวิกโยธินระบุว่า ญี่ปุ่นเป็นศัตรูในอนาคต และได้รับการพัฒนา และฝึกฝน แนวคิดของการบินทางเรือ และการกระโดดร่มลงสู่เกาะ ซึ่งในที่สุดก็ชนะสงครามแปซิฟิก
เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม เคนเนธ เบร็ธเวท รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกองทัพเรือ ได้เปิดเผยเอกสารร่างกฎหมาย ที่เป็น 'กลยุทธ์การเดินเรือแบบสามฝ่าย' ลงนามโดยหัวหน้ากองทัพเรือนาวิกโยธิน และหน่วยยามฝั่ง ซึ่งระบุได้อย่างถูกต้องว่า จีนเป็นภัยคุกคามระยะยาวที่เร่งด่วน และเรียกร้องให้มีการดำเนินการแบบดั้งเดิมและสำคัญ เช่นการปฏิบัติการแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมของพันธมิตร การทำให้ทันสมัย และการควบคุมทางทะเล
แต่ไม่ใช่กลยุทธ์ทางทะเล ไม่มีคำแนะนำ เกี่ยวกับวิธีการ เอาชนะสงครามทางเรือกับจีน
https://www.wsj.com/articles/americas-naval-strategy-is-at-sea-11619543738?mod=flipboard
กลยุทธ์ของกองเรือสหรัฐฯ กำลังล่องน้ำสะเปะสะปะ อยู่ใจกลางทะเล
เพนตากอน ยังฟันธงไม่ได้ว่า จะเอาชนะ สงครามทางทะเลกับจีนได้อย่างไร
แต่กองทัพเรือสหรัฐฯ ก็ยังลอยเคว้งคว้างอยู่กลางทะเล เปรียบเสมือนดั่งพาดหัวประโยคแรก ที่บรรยายได้อีกความหมาย - America's naval strategy is at sea!
มีเรือรบ 101 ลำ ตระเวณไปทั่วโลก ซึ่งเป็นจำนวนเดียวกับในช่วงสงครามเย็น จากกองเรือทั้งหมด ที่มีเพียง 297 ลำ
ตัวเลขประมาณครึ่งหนึ่งของยุคเรแกน ที่มีเกือบ 600 ลำ
ผลต่อเนื่อง ที่ตามมาของการรักษาข้อผูกพันระดับโลกในปัจจุบัน กับกองกำลังเรือที่ขนาดเล็กลง ทำให้การประจำการยาวนานขึ้น ลูกเรือบางคนใช้เวลาเกือบหนึ่งปีในทะเล ตลอดจนการบำรุงรักษาที่มากขึ้น ใช้เวลาในการฝึกน้อยลง
ความหมายโดยนัย ที่กองทัพเรืออยู่ในทะเล กลับมีความสำคัญ และอันตรายกว่า
กองเรือ มีเรือไม่เพียงพอที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของโลก แม้ว่าสหรัฐฯ จะเผชิญกับการแข่งขันทางกองเรือ ที่เพิ่มขึ้น จากจีน รัสเซีย อิหร่าน และเกาหลีเหนือ
ฝ่ายตรงกันข้าม ที่มีศักยภาพเหล่านี้ แต่ละประเทศ มีขีปนาวุธ และเครื่องบิน ซึ่งมีจุดประสงค์เพียงอย่างเดียว เพื่อทำให้กองกำลังทางเรือของสหรัฐฯ ไม่สามารถรับมือได้
64% ของการค้าทางทะเลของจีน และ 40% ของการค้าโดยรวม แล่นผ่านทะเลจีนใต้ ซึ่งเรือของสหรัฐฯ แล่นไปมา
ความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหรัฐฯ กำลังจะเกิดขึ้น โดยจะเป็นเรื่อง ที่เกิดขึ้นทางทะเล
มันทดสอบสมรรถนะของสหรัฐฯ ในการเคลื่อนย้ายกองกำลังทางเรือ หน่วยสะเทินน้ำสะเทินบก ข้ามน้ำข้ามแปซิฟิก ระยะทาง 7,000 ไมล์ เพื่อช่วยเหลือพันธมิตร และหุ้นส่วนอื่นๆ ที่ใช้ช่องทางเดินเรือระหว่างจีน กับตะวันออกกลาง และปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อควบคุมจีนตอนใต้ จีนตะวันออก และทะเลเหลือง
กองทัพเรือจีน จะเป็นคู่กรณี ที่น่ากลัว
มีขีปนาวุธพิสัยไกล กองกำลังเรือบรรทุกเครื่องบินที่เริ่มท่องทะเล และเรือรบ พร้อมอาวุธที่ทันสมัยมากขึ้นทุกประเภท ตลอดจนความสามารถในโลกไซเบอร์ ไปถึงอวกาศ
เพียงแค่สร้างเรือรบ และเรือดำน้ำของสหรัฐฯ ให้มากยิ่งขึ้น คงไม่เพียงพอที่จะตอบสนองความท้าทายอันนี้
การคิดเชิงกลยุทธ์ และการเปลี่ยนแปลง ในการออกแบบกองเรือ รวมไปถึงยุทธวิธี จะเป็นสิ่งที่จำเป็น
ในช่วงทศวรรษที่ 1930 กองทัพเรือ และนาวิกโยธินระบุว่า ญี่ปุ่นเป็นศัตรูในอนาคต และได้รับการพัฒนา และฝึกฝน แนวคิดของการบินทางเรือ และการกระโดดร่มลงสู่เกาะ ซึ่งในที่สุดก็ชนะสงครามแปซิฟิก
เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม เคนเนธ เบร็ธเวท รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกองทัพเรือ ได้เปิดเผยเอกสารร่างกฎหมาย ที่เป็น 'กลยุทธ์การเดินเรือแบบสามฝ่าย' ลงนามโดยหัวหน้ากองทัพเรือนาวิกโยธิน และหน่วยยามฝั่ง ซึ่งระบุได้อย่างถูกต้องว่า จีนเป็นภัยคุกคามระยะยาวที่เร่งด่วน และเรียกร้องให้มีการดำเนินการแบบดั้งเดิมและสำคัญ เช่นการปฏิบัติการแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมของพันธมิตร การทำให้ทันสมัย และการควบคุมทางทะเล
แต่ไม่ใช่กลยุทธ์ทางทะเล ไม่มีคำแนะนำ เกี่ยวกับวิธีการ เอาชนะสงครามทางเรือกับจีน
https://www.wsj.com/articles/americas-naval-strategy-is-at-sea-11619543738?mod=flipboard