คุณเป็นคนที่ทำธุรกิจประสบความสำเร็จในระดับต้นๆ ของสหรัฐฯ ซึ่งนั่นหมายความว่าคุณจะต้องมีสินทรัพย์ระดับแนวหน้าของโลก สิ่งที่คุณพร้อมจะให้ลูกคุณคือ “การศึกษา”ในระดับสุดยอดคือสถาบันการศึกษาที่ดีที่สุดของสหรัฐฯ คำว่า “การศึกษา” ที่ปกติจะต้องวัดผลจากความสามารถของนักเรียน ถ้าคุณมีเงินพอคุณสามารถซื้อความได้เปรียบจาก “การศึกษา” ให้ลูกคุณได้ แต่วันนี้มีคนใส่เสื้อแจ็คเก็ตเจ้าหน้าที่ร้ฐสองคนมากดกริ่งหน้าประตูบ้าน คนนึงคือ FBI และอีกคนหนึ่งคือ IRS...
หลายปีก่อนประเทศไทยมีหนังไทยเรื่องหนึ่งกวาดรางวัลไปอย่างมโหฬาร “ฉลาดเกมโกง” โดยในเรื่องเนื้อเรื่องคือการโกงข้อสอบวัดผลกลางของสหรัฐฯ ในเรื่องชื่อ STIC แต่ในความเป็นจริงคือการสอบ SAT โดยผลการสอบสามารถเอาไปยื่นเพื่อเรียนต่อในหลักสูตรปริญญาตรีของ U ในสหรัฐฯ
อันนั้นคือเรื่องแต่ง วันนี้ขอแนะนำสารคดีที่สร้างจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯ หนังมีชื่อว่า Operation Varsity Blues: The College Admissions Scandal (2021) มีความยาว 1:39 ชั่วโมง ทำโดย Netflix ซึ่งวิธีการโกงในเรื่องนี้ไม่ได้โกงที่ข้อสอบรั่ว แต่เป็นการโกงที่ระบบ Admission ความน่าสนใจของเรื่องนี้คือ การนำเอาหนังที่ถ่ายทำโดยนักแสดง มาผสมกับ VDO Clips ที่เป็นเรื่องจริงกับเสียงโทรศัพท์ที่เป็นหลักฐานที่เปิดเผยออกมาจริงๆ ทุกตัวละครมีตัวตนจริง แต่เนื้อเรื่องในหนังอาจจะไม่ตรงกับความเป็นจริง 100% แต่เนื้อเรื่องหลักไม่เปลี่ยนแปลง
Operation Varsity Blues: The College Admissions Scandal (2021)
เนื้อเรื่องดำเนินโดย William Rick Singer อดีตโค้ช บาสเกตบอลมหาวิทยาลัย ที่ผันตัวมาเป็น Life coach และที่ปรึกษาการเรียนต่ออิสระ
โดย Steps การโกงระบบมีหลายวิธีเช่น
ในเวลาสอบ ACT (การสอบกลางคล้ายๆ กับ SAT) ให้ทำประวัติว่านักเรียนป่วย จะได้สอบพิเศษที่ได้เวลาเพิ่ม และอัตราคนคุมสอบแทบจะเป็น 1 ต่อ 1 กับนักเรียนเค้าก็จ้างให้คนคุมสอบทำข้อสอบให้ได้คะแนนที่ต้องการได้
ติดต่อโค้ชทีมกีฬาต่างๆ โดยเลือกกีฬาที่ไม่ดังเช่นโปโลน้ำ เรือใบ หรือทีมที่ U นั้นๆ ไม่เก่ง เช่นฟุตบอล บาสเกตบอล โดยให้โค้ชส่งชื่อในนักเรียนติดทีม U จะได้สิทธิ์เข้าเรียน
เปิดองค์กรการกุศลมาบังหน้าแล้วให้ ผู้ปกครองบริจาคมา แล้วแกก็เอาเงินนั้นไปจ่ายสินบนให้บุคลากรของ U เพื่อดำเนินการดังกล่าว แล้วได้รับยกเว้นภาษีด้วย
เนื่องจากวิธีการนี้มันทำให้ทุกฝ่าย Happy เรื่องมันเลยไม่แตก แกก็ทำแบบนี้ได้มาเกือบสิบปีคือปี 2011 - 2018 (เชื่อว่าแกน่าจะทำก่อนนั้นอีกแต่หลักฐานมีแค่นี้) ทั้งๆที่บางเคสมัน Obvious มาก เช่นที่ลูกดาราแกไปเรียนที่ University of Southern California - USC ในฐานะนักกีฬา ทั้งๆที่แกเป็นเจ้าแม่โซเชียลมีผู้ติดตามเป็นล้าน ตลอดเวลาทุกวันจะเอาเวลาที่ไหนไปซ้อมกีฬา (ดาราคนนั้นก็เล่นหนังใน Netflix ด้วย)
สำหรับประเด็นที่ว่าความแตกได้ยังไงแล้ว สืบสวนยังไง ติดคุกกันคนละกี่เดือน(อาชญากรรมทางเศรษฐกิจติดคุกไม่นานครับ) ให้ไปดูในหนังเองครับ หนังสนุกและไม่สั้นไม่ยาวจนเกินไป ดูได้ใน Netflix ตอนนี้
ป.ล. 1
อ. ใน U ชั้นนำของสหรัฐ ออกมาบอกว่า Standardized test ทั้งหลายนั้น ทำให้คนรวยได้เปรียบถ้าเค้าเขียนกฏหมายได้เค้าจะยกเลิกมันซะ
University ranking เป็นเรื่องของธุรกิจล้วนๆ U ที่ได้อันดับเพราะทำตาม KPI ของบริษัทจัดอันดับ ซึ่ง KPI ทุกอันไม่ได้มีเกี่ยวข้องหรือรับประกันว่า น.ศ. จะได้รับการศึกษาที่ดีที่สุดตามลำดับนั้นๆ
จำนวน U มีเกินจำนวน น.ศ. ที่อยากเรียนมานานแล้ว ปัญหาคือ น.ศ. อยากเรียนเฉพาะที่ที่มีชื่อเสียง เช่นถ้าคุณอยากเรียน Harvard ก็ไม่อยากเรียน UCLA แต่สำหรับบางคนอยากเรียน UCLA สรุปคือมันไม่มีอะไรที่ ชัดเจน ว่า U ไหนดีไม่ดี ทั้งหมดนั้นเป็นค่านิยมทางสังคม
ไม่มี U ไหน ที่มีความผิดเลย จากปฏิบัติการนี้ เพราะส่วนใหญ่เงินไม่ถึง U ในหนังมีแต่เคสของ Stanford ที่โค้ชเรือใบแกเอาเงินที่ได้ไปบริจาคต่อให้ U เพื่อเอาใช้กับชมรมเรือใบสาเหตุที่ U ไม่มีความผิดคือ การที่ U รับบริจาคเงินนั้นเป็นเรื่องปกติ เพราะ U ไม่เคยรับประกันว่าบริจาคแล้วลูกจะเข้าเรียนได้ อยากบริจาคก็บริจาคไป
ที่พีคที่สุด คือวันที่เป็นข่าวดังออกทีวี ไปทั่ว มีนักธุรกิจชาวจีนโทรมาที่ Admission office ของ Stanford บอกว่า เค้ามี 30 ล้าน USD จะบริจาคที่ไหน
ป.ล. 2 เพิ่มเติมโดยผู้เขียน ไม่มีในหนัง
ว่าด้วยเรื่อง University ranking
KPI ของการทำ University ranking นั้น เอื้อให้มีการ “ทำ” อันดับกันได้ เช่นถ้านับกันที่ Research แล้ว U ที่มีคณะแพทย์และวิทยาศาสตร์สายตรง ก็จะได้เปรียบมาก แต่ถ้า น.ศ. ไม่ได้เรียน คณะนั้นๆ ก็จะไม่ได้เจอ อ. ที่ทำ Research ที่ว่าอยู่ดี
ถ้านับที่ Resource ที่เป็นเงินต่อจำนวนน.ศ. U ที่ซื้อของแพงก็จะมีแต้ม KPI ม. ที่ซื้อของถูก ทั้งๆที่ของแพงไม่ได้หมายความว่าดีกว่า หรือเหมาะกว่า
หรือถ้ามองที่ KPI จำนวนศิษย์เก่าที่ทำงานใน บ. Fortune 500 เท่ากับว่า ม. ไหนที่ศิษย์เก่าเปลี่ยนงานบ่อย ก็จะได้แต้มทบๆ เข้าไป ใครไปประกอบกิจการเค้าก็ไม่นับ
การบริจาคมีมานานแล้วในทุก U ชั้นนำ และแน่นอนว่า U ไม่เคยการันตีการเข้ารับนักเรียน หรือบางที่ดีหน่อยเค้าจะให้ บริจาคเป็น Anonymous เท่านั้น
การสอบ SAT นั้นวิธีการเตรียมสอบที่ราคาถูกที่สุดคือการซื้อหนังสือมาอ่านเองแล้วสมัครสอบซึ่งต้องใช้เงินประมาณ 300-400 USD ประมาณ 10,000 - 12,000 บาท สำหรับคนธรรมดาใน USA อาจจะน้อย แต่ถ้าเป็นคนหาเช้ากินค่ำก็เยอะอยู่ แถมข้อสอบเปลี่ยนทุกปี
สรุปแล้ว อยากเรียนก็สอบตรงๆ ไปเถอะ เพราะมีการศึกษามาแล้วพบว่าปัจจัยใหญ่ที่ทำให้คนรุ่นลูกร่ำรวยมีเงินใช้ คือพ่อแม่ต้องรวยก่อน เพราะถ้า Generation ก่อนมีเงิน Generation หลัง เอาเงินมาต่อเงินง่ายกว่าเอาความรู้มาต่อเงินครับ
#Netflix #documentary #operationvarsityblues
รีวิวสารคดี Netflix - Operation Varsity Blues: The College Admissions Scandal
หลายปีก่อนประเทศไทยมีหนังไทยเรื่องหนึ่งกวาดรางวัลไปอย่างมโหฬาร “ฉลาดเกมโกง” โดยในเรื่องเนื้อเรื่องคือการโกงข้อสอบวัดผลกลางของสหรัฐฯ ในเรื่องชื่อ STIC แต่ในความเป็นจริงคือการสอบ SAT โดยผลการสอบสามารถเอาไปยื่นเพื่อเรียนต่อในหลักสูตรปริญญาตรีของ U ในสหรัฐฯ
อันนั้นคือเรื่องแต่ง วันนี้ขอแนะนำสารคดีที่สร้างจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯ หนังมีชื่อว่า Operation Varsity Blues: The College Admissions Scandal (2021) มีความยาว 1:39 ชั่วโมง ทำโดย Netflix ซึ่งวิธีการโกงในเรื่องนี้ไม่ได้โกงที่ข้อสอบรั่ว แต่เป็นการโกงที่ระบบ Admission ความน่าสนใจของเรื่องนี้คือ การนำเอาหนังที่ถ่ายทำโดยนักแสดง มาผสมกับ VDO Clips ที่เป็นเรื่องจริงกับเสียงโทรศัพท์ที่เป็นหลักฐานที่เปิดเผยออกมาจริงๆ ทุกตัวละครมีตัวตนจริง แต่เนื้อเรื่องในหนังอาจจะไม่ตรงกับความเป็นจริง 100% แต่เนื้อเรื่องหลักไม่เปลี่ยนแปลง
Operation Varsity Blues: The College Admissions Scandal (2021)
เนื้อเรื่องดำเนินโดย William Rick Singer อดีตโค้ช บาสเกตบอลมหาวิทยาลัย ที่ผันตัวมาเป็น Life coach และที่ปรึกษาการเรียนต่ออิสระ
โดย Steps การโกงระบบมีหลายวิธีเช่น
ในเวลาสอบ ACT (การสอบกลางคล้ายๆ กับ SAT) ให้ทำประวัติว่านักเรียนป่วย จะได้สอบพิเศษที่ได้เวลาเพิ่ม และอัตราคนคุมสอบแทบจะเป็น 1 ต่อ 1 กับนักเรียนเค้าก็จ้างให้คนคุมสอบทำข้อสอบให้ได้คะแนนที่ต้องการได้
ติดต่อโค้ชทีมกีฬาต่างๆ โดยเลือกกีฬาที่ไม่ดังเช่นโปโลน้ำ เรือใบ หรือทีมที่ U นั้นๆ ไม่เก่ง เช่นฟุตบอล บาสเกตบอล โดยให้โค้ชส่งชื่อในนักเรียนติดทีม U จะได้สิทธิ์เข้าเรียน
เปิดองค์กรการกุศลมาบังหน้าแล้วให้ ผู้ปกครองบริจาคมา แล้วแกก็เอาเงินนั้นไปจ่ายสินบนให้บุคลากรของ U เพื่อดำเนินการดังกล่าว แล้วได้รับยกเว้นภาษีด้วย
เนื่องจากวิธีการนี้มันทำให้ทุกฝ่าย Happy เรื่องมันเลยไม่แตก แกก็ทำแบบนี้ได้มาเกือบสิบปีคือปี 2011 - 2018 (เชื่อว่าแกน่าจะทำก่อนนั้นอีกแต่หลักฐานมีแค่นี้) ทั้งๆที่บางเคสมัน Obvious มาก เช่นที่ลูกดาราแกไปเรียนที่ University of Southern California - USC ในฐานะนักกีฬา ทั้งๆที่แกเป็นเจ้าแม่โซเชียลมีผู้ติดตามเป็นล้าน ตลอดเวลาทุกวันจะเอาเวลาที่ไหนไปซ้อมกีฬา (ดาราคนนั้นก็เล่นหนังใน Netflix ด้วย)
สำหรับประเด็นที่ว่าความแตกได้ยังไงแล้ว สืบสวนยังไง ติดคุกกันคนละกี่เดือน(อาชญากรรมทางเศรษฐกิจติดคุกไม่นานครับ) ให้ไปดูในหนังเองครับ หนังสนุกและไม่สั้นไม่ยาวจนเกินไป ดูได้ใน Netflix ตอนนี้
ป.ล. 1
อ. ใน U ชั้นนำของสหรัฐ ออกมาบอกว่า Standardized test ทั้งหลายนั้น ทำให้คนรวยได้เปรียบถ้าเค้าเขียนกฏหมายได้เค้าจะยกเลิกมันซะ
University ranking เป็นเรื่องของธุรกิจล้วนๆ U ที่ได้อันดับเพราะทำตาม KPI ของบริษัทจัดอันดับ ซึ่ง KPI ทุกอันไม่ได้มีเกี่ยวข้องหรือรับประกันว่า น.ศ. จะได้รับการศึกษาที่ดีที่สุดตามลำดับนั้นๆ
จำนวน U มีเกินจำนวน น.ศ. ที่อยากเรียนมานานแล้ว ปัญหาคือ น.ศ. อยากเรียนเฉพาะที่ที่มีชื่อเสียง เช่นถ้าคุณอยากเรียน Harvard ก็ไม่อยากเรียน UCLA แต่สำหรับบางคนอยากเรียน UCLA สรุปคือมันไม่มีอะไรที่ ชัดเจน ว่า U ไหนดีไม่ดี ทั้งหมดนั้นเป็นค่านิยมทางสังคม
ไม่มี U ไหน ที่มีความผิดเลย จากปฏิบัติการนี้ เพราะส่วนใหญ่เงินไม่ถึง U ในหนังมีแต่เคสของ Stanford ที่โค้ชเรือใบแกเอาเงินที่ได้ไปบริจาคต่อให้ U เพื่อเอาใช้กับชมรมเรือใบสาเหตุที่ U ไม่มีความผิดคือ การที่ U รับบริจาคเงินนั้นเป็นเรื่องปกติ เพราะ U ไม่เคยรับประกันว่าบริจาคแล้วลูกจะเข้าเรียนได้ อยากบริจาคก็บริจาคไป
ที่พีคที่สุด คือวันที่เป็นข่าวดังออกทีวี ไปทั่ว มีนักธุรกิจชาวจีนโทรมาที่ Admission office ของ Stanford บอกว่า เค้ามี 30 ล้าน USD จะบริจาคที่ไหน
ป.ล. 2 เพิ่มเติมโดยผู้เขียน ไม่มีในหนัง
ว่าด้วยเรื่อง University ranking
KPI ของการทำ University ranking นั้น เอื้อให้มีการ “ทำ” อันดับกันได้ เช่นถ้านับกันที่ Research แล้ว U ที่มีคณะแพทย์และวิทยาศาสตร์สายตรง ก็จะได้เปรียบมาก แต่ถ้า น.ศ. ไม่ได้เรียน คณะนั้นๆ ก็จะไม่ได้เจอ อ. ที่ทำ Research ที่ว่าอยู่ดี
ถ้านับที่ Resource ที่เป็นเงินต่อจำนวนน.ศ. U ที่ซื้อของแพงก็จะมีแต้ม KPI ม. ที่ซื้อของถูก ทั้งๆที่ของแพงไม่ได้หมายความว่าดีกว่า หรือเหมาะกว่า
หรือถ้ามองที่ KPI จำนวนศิษย์เก่าที่ทำงานใน บ. Fortune 500 เท่ากับว่า ม. ไหนที่ศิษย์เก่าเปลี่ยนงานบ่อย ก็จะได้แต้มทบๆ เข้าไป ใครไปประกอบกิจการเค้าก็ไม่นับ
การบริจาคมีมานานแล้วในทุก U ชั้นนำ และแน่นอนว่า U ไม่เคยการันตีการเข้ารับนักเรียน หรือบางที่ดีหน่อยเค้าจะให้ บริจาคเป็น Anonymous เท่านั้น
การสอบ SAT นั้นวิธีการเตรียมสอบที่ราคาถูกที่สุดคือการซื้อหนังสือมาอ่านเองแล้วสมัครสอบซึ่งต้องใช้เงินประมาณ 300-400 USD ประมาณ 10,000 - 12,000 บาท สำหรับคนธรรมดาใน USA อาจจะน้อย แต่ถ้าเป็นคนหาเช้ากินค่ำก็เยอะอยู่ แถมข้อสอบเปลี่ยนทุกปี
สรุปแล้ว อยากเรียนก็สอบตรงๆ ไปเถอะ เพราะมีการศึกษามาแล้วพบว่าปัจจัยใหญ่ที่ทำให้คนรุ่นลูกร่ำรวยมีเงินใช้ คือพ่อแม่ต้องรวยก่อน เพราะถ้า Generation ก่อนมีเงิน Generation หลัง เอาเงินมาต่อเงินง่ายกว่าเอาความรู้มาต่อเงินครับ
#Netflix #documentary #operationvarsityblues