สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 50
เคยดูแดจังกึม ชอบที่พระพันปีพูดถึงฮันซังกุงตอนแข่งทำอาหารว่า
การฝึกให้ตัวเองเก่งเป็นเรื่องดี แต่การสร้างเด็กให้เก่งก็เป็นเรื่องสำคัญ
นักกีฬารุ่นพี่ขึ้นทีมชาติเร็ว เพราะนักกีฬารุ่นพี่(กว่า)เลิกเล่นทีมชาติเร็ว
ตอนนั้นอาจไม่ใช่การเสียสละเท่าไหร่ แต่ก็ทำให้ได้โอกาสในระดับโลก
และกว่าจะมาถึงจุดนี้ต้องล้มลุกคลุกคลาน สั่งสมประสบการณ์
ซึ่งเชื่อว่าไม่มีใครกังขาในความสามารถของเหล่าเซียน
แต่! เมื่อถึงเวลาหนึ่ง ต้องมองถึงอนาคตของทีมมากกว่าผลงาน
การที่รุ่นน้องซ้อมทีมกับรุ่นพี่อาจทำให้เก่งแต่ไม่ทำให้แกร่ง
เพราะความแกร่ง การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือสภาพจิตใจที่เข้มแข็ง
ล้วนมาจากประสบการณ์ในการแข่งสนามจริง ในสถานการณ์กดดันจริง
ซึ่งโอกาสตรงนี้รุ่นน้องได้รับน้อยมากเมื่อเทียบกับที่รุ่นพี่เคยได้รับ
แต่!! จะโทษรุ่นพี่ฝ่ายเดียวก็ไม่ได้อีก ต้องมองไปที่วิสัยทัศน์สมาคม
ในหลายประเทศ สมาคมมองไปที่เด็กรุ่นใหม่ทั้งที่ตัวเก่งยังไม่สามสิบ
เซอร์เบีย ถ้าเทอซิคเกรงใจโจบรา บอสคงไม่เกิด
อิตาลี ถ้าโค้ชจะทู่ซี้ใช้ (เมีย) ออโตลานี่ โกนูคงตาปริบๆ
โดมิ รุ่นป้าเยอะจริง แต่เด็กรุ่นใหม่ก็มาแรงแบบครึ่งๆ
แต่!!! นักกีฬาในประเทศที่ยังฟอร์มดีหลายคนก็จัดให้ เช่น
เบลเยียมถ้าเลส์ไม่รีไทร์ เฮอร์บอทกับฟานเจสที่ตอนนั้นยังเด็กน้อย
คงไม่แกร่งจนกลายเป็นตัวหลักของทีมในปัจจุบัน
บัลแกเรีย ถ้าราบาดร้องจะเอาๆ เกอกาน่าก็คงเบะอยู่ในคอก
บราซิล ถ้าฟาบี้จะเล่น เลอากะเบร๊ดก็อีกนานกว่าเกิด
รัสเซีย ด้วยบารมีพี่เชจะติดก็ไม่น่าเกลียด แต่พี่ไม่อยากตัดโอกาสคนอื่น
วิสัยทัศน์อีกข้อที่ควรเอาต่างชาติเป็นแบบอย่างนอกจากการให้โอกาสรุ่นใหม่
คือ อย่ามองข้ามจุดอ่อน ทีมระดับโลกที่ว่าแข็งแกร่งต่อให้แข่งชนะ
ก็ยังเรียกมาเตือนถ้าทำผิดพลาดในเกม (ยกตัวอย่างกุยเทศน์น้องงูทั้งที่ก็ว่าเล่นดี)
ไม่ใช่เป็นน้ำเต็มแก้วขนาดแพ้ยังว่าของเราดีแล้ว ไม่มีอะไรต้องแก้ไข เพลียร่าง -"-
(ในยุโรปตอนนี้เล่นบอลสูตรบีทับบีแทรกกันตั้งแต่สโมสร ไม่ใช่แค่ยกสูงนาจา)
สุดท้ายนี้ ขอจบที่คำคม By โพลิน่า (ผู้สะเทือนข้ามทวีปและรีไทร์เช่นกัน)
We have to focus on younger generations, this is the only way this team can develop
การฝึกให้ตัวเองเก่งเป็นเรื่องดี แต่การสร้างเด็กให้เก่งก็เป็นเรื่องสำคัญ
นักกีฬารุ่นพี่ขึ้นทีมชาติเร็ว เพราะนักกีฬารุ่นพี่(กว่า)เลิกเล่นทีมชาติเร็ว
ตอนนั้นอาจไม่ใช่การเสียสละเท่าไหร่ แต่ก็ทำให้ได้โอกาสในระดับโลก
และกว่าจะมาถึงจุดนี้ต้องล้มลุกคลุกคลาน สั่งสมประสบการณ์
ซึ่งเชื่อว่าไม่มีใครกังขาในความสามารถของเหล่าเซียน
แต่! เมื่อถึงเวลาหนึ่ง ต้องมองถึงอนาคตของทีมมากกว่าผลงาน
การที่รุ่นน้องซ้อมทีมกับรุ่นพี่อาจทำให้เก่งแต่ไม่ทำให้แกร่ง
เพราะความแกร่ง การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือสภาพจิตใจที่เข้มแข็ง
ล้วนมาจากประสบการณ์ในการแข่งสนามจริง ในสถานการณ์กดดันจริง
ซึ่งโอกาสตรงนี้รุ่นน้องได้รับน้อยมากเมื่อเทียบกับที่รุ่นพี่เคยได้รับ
แต่!! จะโทษรุ่นพี่ฝ่ายเดียวก็ไม่ได้อีก ต้องมองไปที่วิสัยทัศน์สมาคม
ในหลายประเทศ สมาคมมองไปที่เด็กรุ่นใหม่ทั้งที่ตัวเก่งยังไม่สามสิบ
เซอร์เบีย ถ้าเทอซิคเกรงใจโจบรา บอสคงไม่เกิด
อิตาลี ถ้าโค้ชจะทู่ซี้ใช้ (เมีย) ออโตลานี่ โกนูคงตาปริบๆ
โดมิ รุ่นป้าเยอะจริง แต่เด็กรุ่นใหม่ก็มาแรงแบบครึ่งๆ
แต่!!! นักกีฬาในประเทศที่ยังฟอร์มดีหลายคนก็จัดให้ เช่น
เบลเยียมถ้าเลส์ไม่รีไทร์ เฮอร์บอทกับฟานเจสที่ตอนนั้นยังเด็กน้อย
คงไม่แกร่งจนกลายเป็นตัวหลักของทีมในปัจจุบัน
บัลแกเรีย ถ้าราบาดร้องจะเอาๆ เกอกาน่าก็คงเบะอยู่ในคอก
บราซิล ถ้าฟาบี้จะเล่น เลอากะเบร๊ดก็อีกนานกว่าเกิด
รัสเซีย ด้วยบารมีพี่เชจะติดก็ไม่น่าเกลียด แต่พี่ไม่อยากตัดโอกาสคนอื่น
วิสัยทัศน์อีกข้อที่ควรเอาต่างชาติเป็นแบบอย่างนอกจากการให้โอกาสรุ่นใหม่
คือ อย่ามองข้ามจุดอ่อน ทีมระดับโลกที่ว่าแข็งแกร่งต่อให้แข่งชนะ
ก็ยังเรียกมาเตือนถ้าทำผิดพลาดในเกม (ยกตัวอย่างกุยเทศน์น้องงูทั้งที่ก็ว่าเล่นดี)
ไม่ใช่เป็นน้ำเต็มแก้วขนาดแพ้ยังว่าของเราดีแล้ว ไม่มีอะไรต้องแก้ไข เพลียร่าง -"-
(ในยุโรปตอนนี้เล่นบอลสูตรบีทับบีแทรกกันตั้งแต่สโมสร ไม่ใช่แค่ยกสูงนาจา)
สุดท้ายนี้ ขอจบที่คำคม By โพลิน่า (ผู้สะเทือนข้ามทวีปและรีไทร์เช่นกัน)
We have to focus on younger generations, this is the only way this team can develop
แสดงความคิดเห็น
ทำไมช่วงนี้กระทู้ไล่นักกีฬามีเยอะมากๆ
ปล.อย่าด่าเรานะ เเค่เเสดงความคิดเห็น