ทำไมคนทั่วไปเข้าใจว่า ศูนย์การค้าเป็นสถานที่ส่วนบุคคล แต่กฎกระทรวงระบุให้จัดหมวดหมู่ในกลุ่มของอาคารสาธารณะ หรือถนนของอาคารนั้นๆ ที่เก็บค่าจอด ค่าผ่านทางก็จัดให้เป็นถนนสาธารณะ
ทำไมการถ่ายรูป/วิดีโอจึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้ แม้ว่าจะไม่ได้อยู่ในอาคารนั้นหรือแม้แต่ยืนอยู่บนถนนสาธารณะแต่หันกล้องไปถ่ายอาคารของเขาก็ไม่ได้ จะโดนรปภ มาข่มขู่ คืออาศัยที่เราคิดว่าทุกอย่างคือข้อจำกัด ข้อห้าม ไม่สามารถกระทำได้ จึงยึดถือปฏิบัติกันมาตลอด เชื่อมาตลอดว่าเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
เอาเข้าจริงๆ อยากทราบว่ามันผิดกฎหมายหรือไม่ ผิดมาตราใด เจ้าของอาคารสามารถใช้พนักงานของเขาใช้กำลังบีบบังคับให้เราออกจากพื้นที่หรือต้องแจ้งตำรวจ
ในต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายๆ กันคือการถ่ายภาพสถานที่ราชการแม้แต่สถานที่ๆ ละเอียดอ่อนต่อความมั่นคง แต่พอถึงศาลๆ ตัดสินว่าประชาชนมีสิทธิที่จะถ่ายภาพใดๆ ก็ได้แม้แต่สถานที่ราชการ ศาลสั่งยกฟ้องหมด
สถานที่ส่วนบุคคลในความคิดของผมคือที่ๆ ควรจะมีป้าย do not trespassing, ห้ามบุกรุก ,ห้ามเข้า หรือ "สถานที่ส่วนบุคคล ห้ามเข้า" หรือบ้านเรือนอาศัยของประชาชนทั่วไป
กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. ๒๕๒๒[๑]
าศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ (๓) และมาตรา ๘ (๑) (๗) และ (๘) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุมอาคารออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไปเพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น
“ถนนสาธารณะ” หมายความว่า ถนนที่เปิดหรือยินยอมให้ประชาชนเข้าไปหรือใช้เป็นทางสัญจรได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการเรียกเก็บค่าตอบแทนหรือไม่
ข้อกฎหมายเรื่องการถ่ายรูป ถ่ายวิดีโอใน "อาคารสาธารณะ" และ "ถนนสาธารณะ"
ทำไมการถ่ายรูป/วิดีโอจึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้ แม้ว่าจะไม่ได้อยู่ในอาคารนั้นหรือแม้แต่ยืนอยู่บนถนนสาธารณะแต่หันกล้องไปถ่ายอาคารของเขาก็ไม่ได้ จะโดนรปภ มาข่มขู่ คืออาศัยที่เราคิดว่าทุกอย่างคือข้อจำกัด ข้อห้าม ไม่สามารถกระทำได้ จึงยึดถือปฏิบัติกันมาตลอด เชื่อมาตลอดว่าเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
เอาเข้าจริงๆ อยากทราบว่ามันผิดกฎหมายหรือไม่ ผิดมาตราใด เจ้าของอาคารสามารถใช้พนักงานของเขาใช้กำลังบีบบังคับให้เราออกจากพื้นที่หรือต้องแจ้งตำรวจ
ในต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายๆ กันคือการถ่ายภาพสถานที่ราชการแม้แต่สถานที่ๆ ละเอียดอ่อนต่อความมั่นคง แต่พอถึงศาลๆ ตัดสินว่าประชาชนมีสิทธิที่จะถ่ายภาพใดๆ ก็ได้แม้แต่สถานที่ราชการ ศาลสั่งยกฟ้องหมด
สถานที่ส่วนบุคคลในความคิดของผมคือที่ๆ ควรจะมีป้าย do not trespassing, ห้ามบุกรุก ,ห้ามเข้า หรือ "สถานที่ส่วนบุคคล ห้ามเข้า" หรือบ้านเรือนอาศัยของประชาชนทั่วไป
กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. ๒๕๒๒[๑]
าศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ (๓) และมาตรา ๘ (๑) (๗) และ (๘) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุมอาคารออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไปเพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น
“ถนนสาธารณะ” หมายความว่า ถนนที่เปิดหรือยินยอมให้ประชาชนเข้าไปหรือใช้เป็นทางสัญจรได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการเรียกเก็บค่าตอบแทนหรือไม่