[๑๙๐] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดง.....
"
ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน....และ....
อุปาทาน "
เธอทั้งหลายจงฟังธรรมนั้น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่ง อุปาทาน และอุปาทานเป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย..... ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานและอุปาทาน นั้น คือ
- รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ชักให้ใคร่ ชวนให้ กำหนัด
เหล่านี้เรียกว่า..
.ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
- ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในรูปนั้น.....
เป็นตัวอุปาทานในรูปนั้น
{..เสียง..
...กลิ่น..
...รส...
...สัมผัส..}ฯลฯ
- ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ชักให้ใคร่ ชวนให้กำหนัด
เหล่านี้เรียกธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
- ความกำหนัด ด้วยอำนาจความพอใจในธรรมารมณ์นั้น
เป็นตัวอุปาทานในธรรมารมณ์นั้น ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
https://etipitaka.com/read/thai/18/111/
สรุป...
1..ถ้า A = ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
B = อุปาทาน
ก็หมายความว่า A ≠ B
2. A = ขันธ์๕....มันไม่ได้เป็ผู้มีอุปาทาน แต่มันถูกอุปาทาน(B)...โดยสิ่งอื่น
ดังนั้น...ไอ้เจ้าขันธ์๕(A)..มันถอนอุปาทาน(B)ไม่ได้ เพราะมันไม่ใช่ผู้มีอุปาทาน(B)... มันเป็นเพียงผู้ถูกอุปาทาน
3. ก็แล้วใครเป็นผู้มามีอุปาทาน(B)ในขันธ์๕(A)..หละ?
พระองค์เรียกผู้นั้นว่า
" สัตว์ - บุคคล - เธอ - พวกเธอทั้งหลาย - เรา - พวกเราทั้งหลาย...(C) "
☝☝☝☝☝☝-------นี่หละ..ผู้ที่มามีอุปาทาน(B)...ในอุปาทานขัธ์๕(A)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้#บุคคล..#เป็นผู้มีตัณหา..#ในอุปาทานขันธ์๕
ภารสูตร
[๔๙] พระนครสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล ฯลฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดง
- #ภาระ
- #ผู้แบกภาระ
- #เครื่องถือมั่นภาระ
- #และเครื่องวางภาระ
แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่
ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้น ทูลรับสนองพระพุทธดำรัสแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภาระเป็นไฉน?
พึงกล่าวว่า
- #ภาระคืออุปาทานขันธ์๕
อุปาทานขันธ์ ๕เป็นไฉน? คือ อุปาทานขันธ์ คือรูป อุปาทานขันธ์ คือเวทนา อุปาทานขันธ์ คือสัญญา อุปาทานขันธ์ คือสังขาร และอุปาทานขันธ์ คือวิญญาณ.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย #นี้เรียกว่าภาระ.
[๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ผู้แบกภาระเป็นไฉน? พึงกล่าวว่า
- #บุคคล #บุคคลนี้นั้น คือ #ท่านผู้มีชื่ออย่างนี้ #มีโคตรอย่างนี้. <-------########
ดูกรภิกษุทั้งหลาย #นี้เรียกว่าผู้แบกภาระ.
[๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เครื่องถือมั่นภาระเป็นไฉน?
- #ตัณหานี้ใด #นำให้เกิดภพใหม่ประกอบด้วยความกำหนัด #ด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน #มีปกติเพลิดเพลินยิ่งในภพหรืออารมณ์
นั้นๆ ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าเครื่องถือมั่นภาระ.
[๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การวางภาระเป็นไฉน?
- #ความที่ตัณหานั่นแลดับไป ด้วย
สำรอกโดยไม่เหลือ ความสละ ความสละคืน ความพ้น ความไม่อาลัย.
ดูกรภิกษุทั้งหลายนี้เรียกว่าการวางภาระ.
พระผู้มีพระภาคผู้พระสุคตศาสดา ครั้นได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้จบลง
แล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกในภายหลังว่า
[๕๓]
- #ขันธ์๕ #ชื่อว่าภาระแล
- และ #ผู้แบกภาระคือบุคคล
- เครื่องถือมั่นภาระเป็นเหตุนำมาซึ่งความทุกข์ในโลก
- การวางภาระเสียได้เป็นสุข
บุคคลวางภาระหนักเสียได้แล้ว ไม่ถือภาระอื่น ถอนตัณหาพร้อม ทั้งมูลรากแล้ว เป็นผู้หายหิว ดับรอบแล้วดังนี้.
จบ สูตรที่ ๑.
4..เพราะฉนั้น... เมื่อไปค้นหา อุปาทาน(B)... ในขันธ์๕(A)... มันจะหาเจอหรือ?
เพราะว่า อุปาทาน(B)มันไม่ได้อยู่ที่ ขันธ์๕(A)... แต่อยู่ที่...สัตว์-บุคคล(C)
(...แต่จะเจอในอุปาทานขันธ์๕...นะ...)
อุปามาเช่น ผู้ติดบุหรี่... ---> ผู้ติด(C)---อาการติด(B)---บุหรี่(A)
เมื่อไปดูที่..บุหรี่(A)...ก็จะไม่สามารถค้นหา...อาการติด(B)..ในบุหรี่นั้น(A)ได้
5. เพิ่มเติม ครับ👉👉👉
https://ppantip.com/topic/39997788
ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน(A)..และ..อุปาทาน(B) ....ไม่ใช่ A ไปมี B... แต่ C..ไปมี B ใน..A
" ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน....และ....อุปาทาน "
เธอทั้งหลายจงฟังธรรมนั้น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่ง อุปาทาน และอุปาทานเป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย..... ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานและอุปาทาน นั้น คือ
- รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ชักให้ใคร่ ชวนให้ กำหนัด
เหล่านี้เรียกว่า...ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
- ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในรูปนั้น.....เป็นตัวอุปาทานในรูปนั้น
{..เสียง..
...กลิ่น..
...รส...
...สัมผัส..}ฯลฯ
- ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ชักให้ใคร่ ชวนให้กำหนัด
เหล่านี้เรียกธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
- ความกำหนัด ด้วยอำนาจความพอใจในธรรมารมณ์นั้น เป็นตัวอุปาทานในธรรมารมณ์นั้น ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
https://etipitaka.com/read/thai/18/111/
สรุป...
1..ถ้า A = ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน
B = อุปาทาน
ก็หมายความว่า A ≠ B
2. A = ขันธ์๕....มันไม่ได้เป็ผู้มีอุปาทาน แต่มันถูกอุปาทาน(B)...โดยสิ่งอื่น
ดังนั้น...ไอ้เจ้าขันธ์๕(A)..มันถอนอุปาทาน(B)ไม่ได้ เพราะมันไม่ใช่ผู้มีอุปาทาน(B)... มันเป็นเพียงผู้ถูกอุปาทาน
3. ก็แล้วใครเป็นผู้มามีอุปาทาน(B)ในขันธ์๕(A)..หละ?
พระองค์เรียกผู้นั้นว่า
" สัตว์ - บุคคล - เธอ - พวกเธอทั้งหลาย - เรา - พวกเราทั้งหลาย...(C) "
☝☝☝☝☝☝-------นี่หละ..ผู้ที่มามีอุปาทาน(B)...ในอุปาทานขัธ์๕(A)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
4..เพราะฉนั้น... เมื่อไปค้นหา อุปาทาน(B)... ในขันธ์๕(A)... มันจะหาเจอหรือ?
เพราะว่า อุปาทาน(B)มันไม่ได้อยู่ที่ ขันธ์๕(A)... แต่อยู่ที่...สัตว์-บุคคล(C)
(...แต่จะเจอในอุปาทานขันธ์๕...นะ...)
อุปามาเช่น ผู้ติดบุหรี่... ---> ผู้ติด(C)---อาการติด(B)---บุหรี่(A)
เมื่อไปดูที่..บุหรี่(A)...ก็จะไม่สามารถค้นหา...อาการติด(B)..ในบุหรี่นั้น(A)ได้
5. เพิ่มเติม ครับ👉👉👉 https://ppantip.com/topic/39997788