กรณียเมตตสูตร
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ
๑
กรณียมตฺถกุสเลน ยนฺตํ สนฺตํ ปทํ อภิสเมจฺจ
สกฺโก อุชู จ สุหุชู จ สุวโจ จสฺส มุทุ อนติมานี ฯ
๒
สนฺตุสฺสโก จ สุภโร จ อปฺปกิจฺโจ จ สลฺลหุกวุตฺติ
สนฺตินฺทฺริโย จ นิปโก จ อปฺปคพฺโภ กุเลสุ อนนุคิทฺโธ ฯ
๓
น จ ขุทฺทํ สมาจเร กิญฺจิ เยน วิญฺญู ปเร อุปวเทยฺยุ ํ ฯ
สุขิโน วา เขมิโน โหนฺตุ สพฺเพ สตฺตา ภวนฺตุ สุขิตตฺตา
๔
เยเกจิ ปาณภูตตฺถิ ตสา วา ถาวรา วา อนวเสสา
ทีฆา วา เย มหนฺตา วา มชฺฌิมา รสฺสกา อณุกถูลา
๕
ทิฏฺฐา วา {เยว} อทิฏฺฐา เย จ ทูเร วสนฺติ อวิทูเร
ภูตา วา สมฺภเวสี วา สพฺเพ สตฺตา ภวนฺตุ สุขิตตฺตา
๖
น ปโร ปรํ นิกุพฺเพถ นาติมญฺเญถ กตฺถจิ นํ {กญฺจิ}
พฺยาโรสนา {ปฏิฆสญฺญา} นาญฺญมญฺญสฺส ทุกฺขมิจฺเฉยฺย ฯ
๗
มาตา ยถา นิยํ ปุตฺตํ อายุสา เอกปุตฺตมนุรกฺเข
เอวมฺปิ สพฺพภูเตสุ มานสมฺภาวเย อปริมาณํ
๘
เมตฺตญฺจ สพฺพโลกสฺมิ ํ มานสมฺภาวเย อปริมาณํ
อุทฺธํ อโธ จ ติริยญฺจ อสมฺพาธํ อเวรํ อสปตฺตํ
๙
ติฏฺฐญฺจรํ นิสินฺโน วา สยาโน วา ยาว ตสฺส วิคตมิทฺโธ
เอตํ สติ ํ อธิฏฺเฐยฺย พฺรหฺมเมตํ วิหารํ อิธมาหุ ฯ
๑๐
ทิฏฺฐิญฺจ อนุปคมฺม สีลวา ทสฺสเนน สมฺปนฺโน
กาเมสุ วิเนยฺย เคธํ น หิ ชาตุ คพฺภเสยฺยํ ปุนเรตีติ ฯ
: Dhammaruwan สวดไว้อย่างนี้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้9. Mettasuttaṃ
Namo tassa bhagavato arahato sammāsambuddhassa.
1
Karaṇīyamatthakusalena, {yantamฺ} santaṃ {padaṃ} abhisamecca;
Sakko ujū ca suhujū ca, suvaco cassa mudu anatimānī.
2
Santussako ca subharo ca, appakicco ca sallahukavutti;
Santindriyo ca nipako ca, appagabbho {kulesu ananugiddho.}
3
Na ca {khuddamฺ samācare} kiñci, yena viññū pare upavadeyyuṃ;
{Sukhino vā} khemino hontu, {sabbe} sattā bhavantu sukhitattā.
4
Ye keci pāṇabhūtatthi, tasā vā thāvarā {vā anavasesā};
Dīghā vā {ye mahantā vā}, majjhimā rassakā aṇukathūlā.
5
Diṭṭhā vā yeva adiṭṭhā, ye ca dūre vasanti avidūre;
Bhūtā {vā} sambhavesī vā, {sabbe} sattā bhavantu sukhitattā.
6
Na paro paraṃ nikubbetha, nātimaññetha katthaci {naṃ kañci};
Byārosanā paṭighasaññā, nāññamaññassa dukkhamiccheyya.
7
Mātā yathā niyaṃ {puttamฺ} āyusā ekaputtamanurakkhe;
Evampi sabbabhūtesu, mānasaṃ bhāvaye aparimāṇaṃ.
8
Mettañca sabbalokasmimฺ, mānasaṃ bhāvaye aparimāṇaṃ;
Uddhaṃ adho ca tiriyañca, asambādhaṃ {averamฺ} asapattaṃ.
9
Tiṭṭhaṃ caraṃ nisinno vā, sayāno vā yāva {tassa} {vigatamiddho}
Etaṃ satiṃ adhiṭṭheyya, brahmametaṃ {vihāramฺ} idhamāhu.
10
Diṭṭhiñca anupaggamma, sīlavā dassanena sampanno;
Kāmesu {vineyya} gedhaṃ, na hi {jātu gabbhaseyyamฺ} puna retīti.
Mettasuttaṃ niṭṭhitaṃ.
: Chanted by Dhammaruwan
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ตำนานเมตตปริตร :
เมตตปริตร คือ ปริตรที่กล่าวถึงการเจริญเมตตา มีประวัติว่า สมัยหนึ่ง เมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดพระเชตวัน กรุงสาวัตถีมีภิกษุ ๕๐๐ รูปเรียนกรรมฐานจากพระพุทธองค์แล้ว เดินทางไปแสวงหาสถานที่ปฏิบัติธรรม พวกท่านได้มาถึงไพรสณฑ์แห่งหนึ่ง ปรึกษากันว่าสถานที่นี้เหมาะสมแก่การเจริญสมณธรรม จึงตกลงใจอยู่จําพรรษาในที่นั้น ชาวบ้านก็มีจิตศรัทธาสร้างกุฏิถวายให้พํานักรูปละหนึ่งหลัง และอุปัฏฐากด้วยปัจจัยสี่มิให้ขาดแคลน เมื่อฝนตกพวกท่านจะเจริญกรรมฐานที่กุฏิ ครั้นฝนไม่ตกก็จะมาปฏิบัติที่โคนไม้ รุกขเทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่ต้นไม้ไม่สามารถอยู่ในวิมานได้ เพราะผู้ทรงศีลมาอยู่ใต้วิมานของตน จึงต้องพาบุตรธิดาลงมาอยู่บนพื้น เบื้องแรกคิดว่า พวกภิกษุคงจะอยู่ชั่วคราว ก็ทนรอดูอยู่ชั่วคราว แต่เมื่อรู้ว่ามาจํา พรรษาตลอดไตรมาส จึงเกิดความไม่พอใจ คิดจะขับไล่ให้กลับไปในระหว่างพรรษา ฉะนั้นจึงพยายามหลอกหลอนด้วยวิธีต่างๆ เช่น สําแดงรูปร่างที่น่ากลัว ร้องเสียงโหยหวนทํา ให้ได้รับกลิ่นเหม็นต่างๆ พวกภิกษุหวาดหวั่นตกใจต่ออารมณ์ที่น่ากลัวเหล่านั้น ไม่สามารถจะปฏิบัติธรรมได้โดยสะดวก จึงปรึกษากันว่าพวกเราไม่ควรจะอยู่ในสถานที่นี้ แต่ควรที่จะกลับไปจํา พรรษาหลังในสถานที่อื่น และได้เดินทางกลับโดยไม่บอกลาชาวบ้าน เมื่อมาถึงวัดพระเชตวันได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าแล้ว กราบทูลเรื่องนี้แต่พระพุทธองค์ทรงเล็งเห็นว่า สถานที่เดิมเหมาะสมกับภิกษุเหล่านี้มากกว่าที่อื่นจึงทรงแนะนํา ให้พวกท่านกลับไปสถานที่นั้น พร้อมกับตรัสสอนเมตตปริตรเพื่อเจริญเมตตาแก่รุกขเทวดาเมื่อพวกภิกษุได้เรียนเมตตปริตรจากพระพุทธเจ้าแล้ว จึงเดินทางกลับไปยังสถานที่เดิม ก่อนจะเข้าสู่ราวป่า พวกท่านได้เจริญเมตตาโดยสาธยายพระปริตรนี้อานุภาพแห่งเมตตาทําให้รุกขเทวดามีจิตอ่อนโยน มีไมตรีจึงไม่เบียดเบียนเหมือนก่อน ทั้งยังช่วยปรนนิบัติและคุ้มครองภัยอื่นๆ อีกด้วย ภิกษุเหล่านั้นได้พากเพียรเจริญเมตตาภาวนา แล้วเจริญวิปัสสนาภาวนาต่อมา โดยใช้เมตตาเป็นบาทแห่งวิปัสสนา ทุกรูปได้บรรลุอรหัตผลภายในพรรษานั้น
เมตตปริตรในหนังสือนี้มีข้อความต่างจากบทสวดมนต์ฉบับไทย และฉบับสิงหลในบางที่ โดยผู้แปลเลือกใช้ฉบับพม่าที่เรียกว่า ฉบับฉัฏฐสังคีติ (ฉบับสังคายนาครั้งที่ ๖) ซึ่งเป็นฉบับที่พระภิกษุในนิกายเถรวาท ๕ ประเทศ คือ ไทย ลังกา พม่า ลาว และเขมร ได้ร่วมกันสังคายนาที่ประเทศสหภาพพม่าเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ และมีมติเป็นสมานฉันท์ร่วมกัน
เมตตปริตรนี้เป็นคีติคาถาที่จัดอยู่ในหมวดมาตราพฤติ ฉบับพม่าเป็นฉบับที่ถูกต้องตามกฎนั้น แต่ฉบับไทยกับฉบับสิงหลไม่ตรงตามฉันทลักษณ์และหลักไวยากรณ์บาลี (ดูคําอธิบายในบทเพิ่มเติมท้ายเล่ม) อนึ่ง ท่านอาจารย์ธัมมานันทมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดท่ามะโอ จังหวัดลําปาง ได้เล่าว่าแม้พระเถระชาวสิงหลผู้เชี่ยวชาญภาษาบาลีคือ ท่านพระพุทธทัตตเถระอัครมหาบัณฑิต วัดอัคคาราม จังหวัดบาลังโกดา ประเทศศรีลังกา ก็เคยปรารภเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ กับท่านอาจารย์ว่า เมตตปริตรฉบับพม่าถูกต้องกว่าฉบับอื่นๆ
บทขัดเมตตปริตร
๑. ยสฺสานุภาวโต ยกฺขา เนว ทสฺเสนฺติ ภึสนํ
ยมฺหิ เจวานุยุญฺชนฺโต รตฺตินฺทิวมตนฺทิโต.
๒. สุขํ สุปติ สุตฺโต จ ปาปํ กิญฺจิ น ปสฺสติ
เอวมาทิคุณูเปตํ ปริตฺตํ ตํ ภณาม เห.
เหล่าเทวดาย่อมไม่แสดงสิ่งที่น่ากลัว เพราะอานุภาพของพระปริตรใด อนึ่ง บุคคลผู้ไม่เกียจคร้าน เจริญพระปริตรใดทั้งกลางวัน และกลางคืน ย่อมหลับสบาย เมื่อหลับย่อมไม่ฝันร้าย ขอเราทั้งหลายจงสวดพระปริตรนั้น อันประกอบด้วยคุณอย่างนี้เป็นต้นเถิด
เมตตปริตร
๑. กรณียมตฺถกุสเลน ยนฺต สนฺตํ ปทํ อภิสเมจฺจ
สกฺโก อุชู จ สุหุชู จ สูวโจ จสฺส มุทุ อนติมานี.
ภิกษุผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ประสงค์จะบรรลุแดนสงบ พึงอบรมสิกขาสาม ภิกษุนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ เป็นคนตรง แน่วแน่ ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่ถือตัว
๒. สนฺตุสฺสโก จ สุภโร จ อปฺปกิจฺโจ จ สลฺลหุกวุตฺติ
สนฺตินฺทฺริโย จ นิปโก จ อปฺปคพฺโภ กุเลสฺวนนุคิทฺโธ.
พึงเป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจธุระน้อย ดําเนินชีวิตเรียบง่ายมีอินทรีย์สงบ มีปัญญารักษาตน มีการสํารวมกายวาจาใจ ไม่พัวพันกับสกุลทั้งหลาย
๓. น จ ขุทฺท’มาจเร กิญฺจิ เยน วิญฺญู ปเร อุปวเทยฺยุ ํ
สุขิโน ว เขมิโน โหนฺตุ สพฺพสตฺตา ภวนฺตุ สุขิตตฺตา.
ไม่พึงประพฤติสิ่งเล็กน้อยอะไรๆ ที่จะเป็นเหตุให้ผู้รู้ตําหนิ [พึงแผ่เมตตาว่า] ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีความสุขกาย สุขใจปลอดจากภัยทั้งปวงเถิด
๔. เย เกจิ ปาณภูตตฺถิ ตสา วา ถาวรา ว’นวเสสา
ทีฆา วา เย ว มหนฺตา มชฺฌิมา รสฺสกา อณุกถูลา.
สัตว์ทั้งหลายที่มีความหวาดกลัวก็ดีที่มั่นคงก็ดีทั้งหมดทั้งที่มีกายยาว ใหญ่ ปานกลาง สั้น ละเอียด หรือหยาบ
๕. ทิฏฺา วา เย ว อทิฏฺา เย ว ทูเร วสนฺติ อวิทูเร
ภูตา ว สมฺภเวสี ว สพฺพสตฺตา ภวนฺตุ สุขิตตฺตา.
ทั้งที่เคยเห็นหรือไม่เคยเห็น อยู่ไกลหรือใกล้ที่เกิดแล้วหรือที่กําลังแสวงหาที่เกิด สัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงมีความสุขกายสุขใจเถิด
๖. น ปโร ปรํ นิกุพฺเพถ นาติมญฺเถ กตฺถจิ น กญฺจิ
พฺยาโรสนา ปฏิฆสญฺ นาฺมญฺสฺส ทุกฺขมิจฺเฉยฺย.
บุคคลไม่พึงหลอกลวงกัน ไม่พึงดูหมิ่นใครในที่ไหน ไม่พึงปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน ด้วยการเบียดเบียน หรือด้วยใจมุ่งร้าย
๗. มาตา ยถา นิยํ ปุตฺต- มายุสา เอกปุตฺต’มนุรกฺเข
เอวมฺปิ สพฺพภูเตสุ มานสํ ภาวเย อปริมาณํ.
มารดาถนอมบุตรคนเดียวของตนด้วยชีวิต ฉันใด บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตไม่มีประมาณในสัตว์ทั้งปวง ฉันนั้น
๘. เมตฺตญฺจ สพฺพโลกสฺมิ มานสํ ภาวเย อปริมาณํ
อุทฺธํ อโธ จ ติริยญฺจ อสมฺพาธํ อเวรมสปตฺตํ.
บุคคลพึงเจริญเมตตาจิต อันไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ในสัตว์โลกทั้งหมด ทั้งในอรูปภูมิเบื้องบน รูปภูมิเบื้องกลาง และกามาวจรภูมิเบื้องต่ำ
๙. ติฏฺํ จรํ นิสินฺโน ว สยาโน ยาวตาสฺส วิตมิทฺโธ
เอตํ สตึ อธิฏฺเยฺย พฺรหฺม’เมตํ วิหาร’มิธ มาหุ.
เมื่อยืน เดิน นั่ง หรือนอน พึงเป็นผู้ปราศจากความง่วง ตั้งสติอย่างนี้ไว้ พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสการปฏิบัติเช่นนี้ว่าเป็นความประพฤติอันประเสริฐในพระศาสนานี้
๑๐. ทิฏฺิญฺจ อนุปคมฺม สีลวา ทสฺสเนน สมฺปนฺโน
กาเมสุ วิเนยฺย เคธํ น หิ ชาตุคฺคพฺภเสยฺย ปุนเรติ.
บุคคลผู้นั้นจะไม่กล้ำกรายความเห็นผิด เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีลถึงพร้อมด้วยความเห็นชอบ เมื่อขจัดความยินดีในกามได้แล้ว ย่อมไม่เข้าถึงการเกิดในครรภ์อีกอย่างแน่แท้
: ความจาก พระปริตรธรรม
Download >>>
พระปริตรธรรม <<< คลิก
เมตตปริตร - กรณียเมตตสูตร By Dhammaruwan
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ
กรณียมตฺถกุสเลน ยนฺตํ สนฺตํ ปทํ อภิสเมจฺจ
สกฺโก อุชู จ สุหุชู จ สุวโจ จสฺส มุทุ อนติมานี ฯ
๒
สนฺตุสฺสโก จ สุภโร จ อปฺปกิจฺโจ จ สลฺลหุกวุตฺติ
สนฺตินฺทฺริโย จ นิปโก จ อปฺปคพฺโภ กุเลสุ อนนุคิทฺโธ ฯ
๓
น จ ขุทฺทํ สมาจเร กิญฺจิ เยน วิญฺญู ปเร อุปวเทยฺยุ ํ ฯ
สุขิโน วา เขมิโน โหนฺตุ สพฺเพ สตฺตา ภวนฺตุ สุขิตตฺตา
๔
เยเกจิ ปาณภูตตฺถิ ตสา วา ถาวรา วา อนวเสสา
ทีฆา วา เย มหนฺตา วา มชฺฌิมา รสฺสกา อณุกถูลา
๕
ทิฏฺฐา วา {เยว} อทิฏฺฐา เย จ ทูเร วสนฺติ อวิทูเร
ภูตา วา สมฺภเวสี วา สพฺเพ สตฺตา ภวนฺตุ สุขิตตฺตา
๖
น ปโร ปรํ นิกุพฺเพถ นาติมญฺเญถ กตฺถจิ นํ {กญฺจิ}
พฺยาโรสนา {ปฏิฆสญฺญา} นาญฺญมญฺญสฺส ทุกฺขมิจฺเฉยฺย ฯ
๗
มาตา ยถา นิยํ ปุตฺตํ อายุสา เอกปุตฺตมนุรกฺเข
เอวมฺปิ สพฺพภูเตสุ มานสมฺภาวเย อปริมาณํ
๘
เมตฺตญฺจ สพฺพโลกสฺมิ ํ มานสมฺภาวเย อปริมาณํ
อุทฺธํ อโธ จ ติริยญฺจ อสมฺพาธํ อเวรํ อสปตฺตํ
๙
ติฏฺฐญฺจรํ นิสินฺโน วา สยาโน วา ยาว ตสฺส วิคตมิทฺโธ
เอตํ สติ ํ อธิฏฺเฐยฺย พฺรหฺมเมตํ วิหารํ อิธมาหุ ฯ
๑๐
ทิฏฺฐิญฺจ อนุปคมฺม สีลวา ทสฺสเนน สมฺปนฺโน
กาเมสุ วิเนยฺย เคธํ น หิ ชาตุ คพฺภเสยฺยํ ปุนเรตีติ ฯ
: Dhammaruwan สวดไว้อย่างนี้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
Download >>> พระปริตรธรรม <<< คลิก