📌#ทำไมสบู่แชมพูต้องเคลม_SLS_free📌
ซื้อสบู่แชมพูทีไร
ต้องเจอเคลมว่า SLS free (เอสแอลเอส ฟรี))
บางแบรนด์ก็ SLES free (เอสแอลอีเอส ฟรี)
หรือบางทีก็เจอ Sulfate free ไปเลย (ซัลเฟต ฟรี)
มันดีจริงมั้ย⁉️หรือเป็นแค่เคลมการตลาด
เรามาดูกันเลยดีกว่า
.
ก่อนอื่น
♦️ #มารู้จักสารลดแรงตึงผิว ♦️
สารลดแรงตึงผิว (Surfactant = เซอร์แฟกแท๊น)
มันดีจริงมั้ยหรือเป็นแค่เคลมการตลาดเรามาดูกันเลยดีกว่า
เป็นสารที่ใช้ทำความสะอาด
มี 4 ประเภท
▪️ประจุลบ (anionic surfactant) = (แอนไอออนิก)
▪️ประจุบวก (cationic surfactant) = (แคทไอออนิก)
▪️ทั้งประจุบวกและลบ (amphoteric surfactant) = (แอมโฟเทอริก)
▪️ไม่มีประจุ (nonionic surfactant) = (นอนไอออนิก)
.
.
♦️ #รู้จักSulfate_SLS_SLES ♦️
🔹🔹 Sulfate 🔹🔹
เป็นชื่อกลุ่มนึงของสารลดแรงตึงผิวประจุลบ
โดยมีตัวเด่นๆในกลุ่ม Sulfate 2 ตัว
ที่เราคุ้นๆในคำเคลม คือ
SLS และ SLES
SLS = Sodium “lauryl” Sulfate (โซเดียม “ลอริ่ว” ซัลเฟต)
SLES = Sodium “laureth” Sulfate (โซเดียม “ลอเรท” ซัลเฟต)
ซึ่งชื่อเรียกต่างกันนิสสสสเดียวว
แต่คุณสมบัติต่างกันเยอะเลย
.
🔹🔹 SLS 🔹🔹
เป็นสารทำความสะอาดที่นิยมใช้ในน้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน
เพราะราคาถูกมาก
แต่การระคายเคืองค่อนข้างสูง
อย่างที่เราเห็นกันบ่อยๆว่า
คนแพ้น้ำยาซักผ้าหรือน้ำยาล้างจานกันบ่อยๆ
ถึงขนาดว่าเวลาที่มีทดสอบการแพ้
จะต้องเอาเจ้า SLS มาเป็นตัวเทียบเลย
ว่าสิ่งที่ทดสอบจะทำให้แพ้เท่ากับการใช้ SLS ทาผิวมั้ย
ถ้าไม่นับข้อเสียเรื่องระคายเคือง
ข้อดีของ SLS คือ ราคาถูกมากกกกกกกก
ทำให้สมัยก่อนก็เลยมีผู้ผลิตบางแบรนด์
เอา SLS มาใส่ใน สบู่แชมพูบ้าง
เพราะทำความสะอาดดีมากและให้ฟองสะใจด้วย
.
ในขณะที่
🔹🔹SLES 🔹🔹
เป็นสารทำความสะอาดที่นิยมใช้ในสบู่ แชมพู
ราคแพงขึ้นมาหน่อย
การระคายเคืองต่ำลง
เพราะถูกปรับโครงสร้างให้มีหมู่ ether อยู่ในโครงสร้าง
เมื่อความปลอดภัยมากกว่า
ผู้ผลิตจึงเลือกใช้ SLES มากกว่า
▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️
ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้ก็น่าจะรู้สาเหตุแล้ว
ทำไมแบรนด์ทั้งหลายถึงเคลม SLS free
ในสินค้าสำหรับทำความสะอาดร่างกาย
ก็เพราะมันค่อนข้างระคายเคืองต่อผิวนั่นเอง
เรียกได้ว่าถ้าจะขายสบู่แชมพู
ยังไงก็ต้องเจอ SLS Free
แต่ถ้าจะให้สูตรดูอ่อนโยนมากขึ้น
บางแบรนด์ก็จะยกระดับ
โดยการเคลม SLES free ไปด้วยเลย
เพื่อพยายามจะบอกว่าสูตรนี้มันอ่อนโยนกว่าจริงๆนะ
(แต่ก็ต้องระวังบางแบรนด์ที่ตุกติกใส่ SLS แทนไว้หน่อยเน่อเพื่อความไม่ประมาท)
และขั้นสุดของความดูอ่อนโยนก็คือ
การเคลมว่า Sulfate free ไปเล้ยยยยยยย
ก็คือ ไม่มีทั้ง SLS และ SLES รวมถึงซัลเฟตกลุ่มอื่นๆเลย
แต่ไม่ได้แปลว่าสูตรนั้นจะไม่มีสารทำความสะอาดเลยนะ
ยังมีอยู่เหมือนเดิมจ้า
ไม่งั้นจะเอาอะไรมาทำความสะอาด
แต่เค้าไปใช้สารลดแรงตึงผิวประจุลบตัวอื่น
หรือใช้แบบประจุบวกกับ หรืออาจจะใช้พวกไม่มีประจุแทน
.
.
♦️ #ใน_3_ตัวนี้เคลมไหนดีกว่ากัน ♦️
เพราะฉะนั้นถ้าเรียงตามลำดับ
ว่าเคลมไหนดูดีดูอ่อนโยนสุด
ก็จะเรียงตามนี้
💛Sulfate free > SLES free > SLS Free💛
▫️โดยรวมถ้าถามว่าการเคลมนี้ถือเป็นการตลาดมั้ย
ก็เป็นนะ
เพราะเป็นการบอกกลายๆว่า
ของยี่ห้อไหนดูอ่อนโยนต่อผิวมากกว่า
ก็จะดึงดูดใจคนให้เลือกซื้อเลือกใช้มากกว่า
▫️แต่ถ้าถามว่ามันมีประโยชน์ต่อคนใช้มั้ย
ก็ต้องบอกเลยว่ามีมากๆเลยแหละ
เพราะจะทำให้คนที่มีปัญหาผิว เป็นสิว ผิวแพ้ง่าย หรือพ่อแม่ที่มีเบบี๋
เลือกได้ว่าควรจะใช้สูตรที่เคลมว่าอะไร
.
.
แต่ขอแถมให้อีกหน่อยแล้วกัน
♦️ #วิธีพลิกหลังกล่อง #ดูว่าสูตรอ่อนโยนจริงๆมั้ย ♦️
สำหรับคนที่อยากชัวร์ว่า
สูตรนี้อ่อนโยนจริงและไม่มี Sulfate จริงๆ
ให้ดูรายชื่อสารลดแรงตึงผิวคร่าวๆตามด้านล่าง
แต่‼️ขอบอกไว้ก่อนเลยว่า
ราคาก็จะแพงขึ้น ฟองก็จะน้อยลง
เวลาล้างแล้วหน้าก็จะลื่นๆหน่อย
ความรู้สึกเหมือนล้างหน้าไม่ค่อยสะอาด
แต่จริงๆล้างสะอาดนะ
เพราะความอ่อนโยน
และไม่ทำลายไขมันและโปรตีนบนผิวหนัง
ทำให้มันดูลื่นๆแบบนั้นแหละ
☑️ ปรับความเชื่อซะใหม่ ☑️
ฟองน้อย ไม่เอี๊ยดอ๊าด ก็แปลว่า สะอาดนะจ๊ะ
หมดคำเตือน
มาดู List สารลดแรงตึงผิวกันต่อ
.
.
🟢 สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุลบ (anionic surfactant)
▪️กลุ่ม alkyl sulfosuccinate ได้แก่
• sodium lauryl monoethanolamide
• disodium laureth sulfosuccinate
▪️กลุ่ม isethionate
• sodium cocoyl isethionate
• sodium oleyl methyl aminoethyl sulfonate)
.
.
🟢สารลดแรงตึงผิวที่ไม่มีประจุ (nonionic surfactant)
(มักใช้ในสูตรล้างหน้า)
▪️กลุ่ม polyoxyethylene fatty alcohol
▪️กลุ่ม polyoxyethylene sorbitol ester
ได้แก่ polysorbate 20, polysorbate 80 เป็นต้น
▪️กลุ่ม alkyl glucoside
decyl glucoside
lauryl glucoside
.
.
🟢 สารลดแรงตึงผิวที่มีทั้งประจุบวกและประจุลบ (Amphoteric surfactant)
(มักใช้ในสบู่หรือแชมพูเด็ก /ใช้เป็นตัวเสริมฟองทั้งสบู่และแชมพูผู้ใหญ่)
▪️sodium lauroamphoacetate (ที่มาคำเคลม no more tear)
▪️cocamidopropyl betaine
▪️sodium cocoamphoacetate
.
.
🟢 สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุบวก (cationic surfactant)
(กลุ่มนี้มักเจอในครีมนวด / สารกันเสีย)
.
.
เพราะฉะนั้น
📌📌เรียงความอ่อนโยนคร่าวๆให้อีกที📌📌
จากมากไปน้อยจะเป็นตามนี้จ้า
(บนลงล่าง)
1. Amphoteric surfactant
2. nonionic surfactant
3. anionic surfactant
-Sulfosuccinate isethionate
-Sulfate free
-SLES free
-SLS Free
📍📍สุดท้ายนี้อยากฝากว่า📍📍
การเลือกผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด
ทั้งสบู่ แชมพู โฟมล้างหน้า
อย่าลืมเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
#สภาพผิว และ #ไลฟ์สไตล์ของตัวเอง
จะสำคัญที่สุดนะค้า!!
#ความรู้ดีๆเราก็ให้ฟรีนะก๊ะ 🤣
#เพราะรักจึงบอก
#เภสัชกรรัก
สบู่ โฟม SLS free ดียังไง?
ซื้อสบู่แชมพูทีไร
ต้องเจอเคลมว่า SLS free (เอสแอลเอส ฟรี))
บางแบรนด์ก็ SLES free (เอสแอลอีเอส ฟรี)
หรือบางทีก็เจอ Sulfate free ไปเลย (ซัลเฟต ฟรี)
มันดีจริงมั้ย⁉️หรือเป็นแค่เคลมการตลาด
เรามาดูกันเลยดีกว่า
.
ก่อนอื่น
♦️ #มารู้จักสารลดแรงตึงผิว ♦️
สารลดแรงตึงผิว (Surfactant = เซอร์แฟกแท๊น)
มันดีจริงมั้ยหรือเป็นแค่เคลมการตลาดเรามาดูกันเลยดีกว่า
เป็นสารที่ใช้ทำความสะอาด
มี 4 ประเภท
▪️ประจุลบ (anionic surfactant) = (แอนไอออนิก)
▪️ประจุบวก (cationic surfactant) = (แคทไอออนิก)
▪️ทั้งประจุบวกและลบ (amphoteric surfactant) = (แอมโฟเทอริก)
▪️ไม่มีประจุ (nonionic surfactant) = (นอนไอออนิก)
.
.
♦️ #รู้จักSulfate_SLS_SLES ♦️
🔹🔹 Sulfate 🔹🔹
เป็นชื่อกลุ่มนึงของสารลดแรงตึงผิวประจุลบ
โดยมีตัวเด่นๆในกลุ่ม Sulfate 2 ตัว
ที่เราคุ้นๆในคำเคลม คือ
SLS และ SLES
SLS = Sodium “lauryl” Sulfate (โซเดียม “ลอริ่ว” ซัลเฟต)
SLES = Sodium “laureth” Sulfate (โซเดียม “ลอเรท” ซัลเฟต)
ซึ่งชื่อเรียกต่างกันนิสสสสเดียวว
แต่คุณสมบัติต่างกันเยอะเลย
.
🔹🔹 SLS 🔹🔹
เป็นสารทำความสะอาดที่นิยมใช้ในน้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน
เพราะราคาถูกมาก
แต่การระคายเคืองค่อนข้างสูง
อย่างที่เราเห็นกันบ่อยๆว่า
คนแพ้น้ำยาซักผ้าหรือน้ำยาล้างจานกันบ่อยๆ
ถึงขนาดว่าเวลาที่มีทดสอบการแพ้
จะต้องเอาเจ้า SLS มาเป็นตัวเทียบเลย
ว่าสิ่งที่ทดสอบจะทำให้แพ้เท่ากับการใช้ SLS ทาผิวมั้ย
ถ้าไม่นับข้อเสียเรื่องระคายเคือง
ข้อดีของ SLS คือ ราคาถูกมากกกกกกกก
ทำให้สมัยก่อนก็เลยมีผู้ผลิตบางแบรนด์
เอา SLS มาใส่ใน สบู่แชมพูบ้าง
เพราะทำความสะอาดดีมากและให้ฟองสะใจด้วย
.
ในขณะที่
🔹🔹SLES 🔹🔹
เป็นสารทำความสะอาดที่นิยมใช้ในสบู่ แชมพู
ราคแพงขึ้นมาหน่อย
การระคายเคืองต่ำลง
เพราะถูกปรับโครงสร้างให้มีหมู่ ether อยู่ในโครงสร้าง
เมื่อความปลอดภัยมากกว่า
ผู้ผลิตจึงเลือกใช้ SLES มากกว่า
▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️▪️
ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้ก็น่าจะรู้สาเหตุแล้ว
ทำไมแบรนด์ทั้งหลายถึงเคลม SLS free
ในสินค้าสำหรับทำความสะอาดร่างกาย
ก็เพราะมันค่อนข้างระคายเคืองต่อผิวนั่นเอง
เรียกได้ว่าถ้าจะขายสบู่แชมพู
ยังไงก็ต้องเจอ SLS Free
แต่ถ้าจะให้สูตรดูอ่อนโยนมากขึ้น
บางแบรนด์ก็จะยกระดับ
โดยการเคลม SLES free ไปด้วยเลย
เพื่อพยายามจะบอกว่าสูตรนี้มันอ่อนโยนกว่าจริงๆนะ
(แต่ก็ต้องระวังบางแบรนด์ที่ตุกติกใส่ SLS แทนไว้หน่อยเน่อเพื่อความไม่ประมาท)
และขั้นสุดของความดูอ่อนโยนก็คือ
การเคลมว่า Sulfate free ไปเล้ยยยยยยย
ก็คือ ไม่มีทั้ง SLS และ SLES รวมถึงซัลเฟตกลุ่มอื่นๆเลย
แต่ไม่ได้แปลว่าสูตรนั้นจะไม่มีสารทำความสะอาดเลยนะ
ยังมีอยู่เหมือนเดิมจ้า
ไม่งั้นจะเอาอะไรมาทำความสะอาด
แต่เค้าไปใช้สารลดแรงตึงผิวประจุลบตัวอื่น
หรือใช้แบบประจุบวกกับ หรืออาจจะใช้พวกไม่มีประจุแทน
.
.
♦️ #ใน_3_ตัวนี้เคลมไหนดีกว่ากัน ♦️
เพราะฉะนั้นถ้าเรียงตามลำดับ
ว่าเคลมไหนดูดีดูอ่อนโยนสุด
ก็จะเรียงตามนี้
💛Sulfate free > SLES free > SLS Free💛
▫️โดยรวมถ้าถามว่าการเคลมนี้ถือเป็นการตลาดมั้ย
ก็เป็นนะ
เพราะเป็นการบอกกลายๆว่า
ของยี่ห้อไหนดูอ่อนโยนต่อผิวมากกว่า
ก็จะดึงดูดใจคนให้เลือกซื้อเลือกใช้มากกว่า
▫️แต่ถ้าถามว่ามันมีประโยชน์ต่อคนใช้มั้ย
ก็ต้องบอกเลยว่ามีมากๆเลยแหละ
เพราะจะทำให้คนที่มีปัญหาผิว เป็นสิว ผิวแพ้ง่าย หรือพ่อแม่ที่มีเบบี๋
เลือกได้ว่าควรจะใช้สูตรที่เคลมว่าอะไร
.
.
แต่ขอแถมให้อีกหน่อยแล้วกัน
♦️ #วิธีพลิกหลังกล่อง #ดูว่าสูตรอ่อนโยนจริงๆมั้ย ♦️
สำหรับคนที่อยากชัวร์ว่า
สูตรนี้อ่อนโยนจริงและไม่มี Sulfate จริงๆ
ให้ดูรายชื่อสารลดแรงตึงผิวคร่าวๆตามด้านล่าง
แต่‼️ขอบอกไว้ก่อนเลยว่า
ราคาก็จะแพงขึ้น ฟองก็จะน้อยลง
เวลาล้างแล้วหน้าก็จะลื่นๆหน่อย
ความรู้สึกเหมือนล้างหน้าไม่ค่อยสะอาด
แต่จริงๆล้างสะอาดนะ
เพราะความอ่อนโยน
และไม่ทำลายไขมันและโปรตีนบนผิวหนัง
ทำให้มันดูลื่นๆแบบนั้นแหละ
☑️ ปรับความเชื่อซะใหม่ ☑️
ฟองน้อย ไม่เอี๊ยดอ๊าด ก็แปลว่า สะอาดนะจ๊ะ
หมดคำเตือน
มาดู List สารลดแรงตึงผิวกันต่อ
.
.
🟢 สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุลบ (anionic surfactant)
▪️กลุ่ม alkyl sulfosuccinate ได้แก่
• sodium lauryl monoethanolamide
• disodium laureth sulfosuccinate
▪️กลุ่ม isethionate
• sodium cocoyl isethionate
• sodium oleyl methyl aminoethyl sulfonate)
.
.
🟢สารลดแรงตึงผิวที่ไม่มีประจุ (nonionic surfactant)
(มักใช้ในสูตรล้างหน้า)
▪️กลุ่ม polyoxyethylene fatty alcohol
▪️กลุ่ม polyoxyethylene sorbitol ester
ได้แก่ polysorbate 20, polysorbate 80 เป็นต้น
▪️กลุ่ม alkyl glucoside
decyl glucoside
lauryl glucoside
.
.
🟢 สารลดแรงตึงผิวที่มีทั้งประจุบวกและประจุลบ (Amphoteric surfactant)
(มักใช้ในสบู่หรือแชมพูเด็ก /ใช้เป็นตัวเสริมฟองทั้งสบู่และแชมพูผู้ใหญ่)
▪️sodium lauroamphoacetate (ที่มาคำเคลม no more tear)
▪️cocamidopropyl betaine
▪️sodium cocoamphoacetate
.
.
🟢 สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุบวก (cationic surfactant)
(กลุ่มนี้มักเจอในครีมนวด / สารกันเสีย)
.
.
เพราะฉะนั้น
📌📌เรียงความอ่อนโยนคร่าวๆให้อีกที📌📌
จากมากไปน้อยจะเป็นตามนี้จ้า
(บนลงล่าง)
1. Amphoteric surfactant
2. nonionic surfactant
3. anionic surfactant
-Sulfosuccinate isethionate
-Sulfate free
-SLES free
-SLS Free
📍📍สุดท้ายนี้อยากฝากว่า📍📍
การเลือกผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด
ทั้งสบู่ แชมพู โฟมล้างหน้า
อย่าลืมเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
#สภาพผิว และ #ไลฟ์สไตล์ของตัวเอง
จะสำคัญที่สุดนะค้า!!
#ความรู้ดีๆเราก็ให้ฟรีนะก๊ะ 🤣
#เพราะรักจึงบอก
#เภสัชกรรัก