1.
.
2.
.
Photograph Courtesy Naval Surface
Wafare Center Dahlgren Virginia
.
2.1
.
.
.
Computer Bug
9 กันยายน 1947 เป็นครั้งแรกทึ่พบ Bug
ทีมงานนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
ของ Harvard University
ได้รายงาน Bug คอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก
คือ ผีเสื้อกลางคืน(Bug/Moth) ที่ตายแล้ว
พบว่ายังเกาะอยู่ที่รีเลย์/แผงวงจร
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสูญญากาศ
ทำให้เกิดการลัดวงจร/ชอร์ตตรงบริเวณนั้น
มีผลทำให้การประมวลผลคอมเอ๋อเหรอ Error
ก็แค่ Debug ดึงตัว Bug ออกมา
ให้หลุดออกจากแผงวงจรดังกล่าว
เครื่องก็ทำงานประมวลผลได้ปกติตามเดิม
ยุคนั้นยังใช้ระบบหลอดสูญญากาศ
ผสานการทำงานกับตัวรีเลย์
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีตัวรีเลย์จำนวนมาก คือ
เครื่องเล่น PinBall ยุคแรกเริ่ม
ยังไม่มีการผลิต Transiters, IC, Chip CPU
ที่เข้ามาทำงานแทนที่หลอดได้อย่างมหาศาล
ทั้งยังทำงานได้เร็วกว่าหลายพันเท่าตัว
.
.
.
.
.
ในช่วงปี 1800
Thomas Edison ก็เคยรายงาน Bugs
เรื่องเสียงรบกวนในสายโทรศัพท์
คล้ายกับเสียงแมลงในสาย
โดยให้ทดสอบ/ให้ไปฟังเสียงในห้องเงียบ
ที่ไร้เสียงรบกวนโสตประสาทจากภายนอก
.
.
นี่คือ Bug ตัวแรกของโลก
ที่มีผลกระทบต่อคอมพิวเตอร์
ทุกวันนี้ถ้าเกิดมีปัญหา/มีผลกระทบ
ต่อระบบคอมพิวเตอร์ การประมวลผล
/เงื่อนไขคำสั่งในการทำงานของโปรแกรม
ความปลอดภัย/ระบบการป้องกันคอมพิวเตอร์
การเปิดปิดระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
Computer Operating Systems
มักจะเรียกรวม ๆ ว่า Bug
ใน Software/Hardware
ทำให้ทั้ง Windows Mac Linus
ผู้ผลิต Chip Card ต่าง ๆ
ต้อง Update Software Firmware กันตลอด
ไม่เคยหยุดนิ่งเพื่อป้องกัน Bug
กับให้คอมพิวเตอร์มีเสถียรภาพมากที่สุด
Debugging/การบริหารจัดการแก้ไข Bug
คือ เรื่องสำคัญของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์
.
.
.
.
.
ผู้ค้นพบ Bug ครั้งแรกของโลกคอมพิวเตอร์
คือ
Grace Hopper
เธอคือหนึ่งในทีมงานที่เขียนปูมบันทึกครั้งนี้
เธอยังทำงานร่วมกับหลายมหาวิทยาลัย
Harvard Cambridge และ Massachusetts
เธอค้นพบว่าคอมพิวเตอร์
Mark II
(พัฒนาต่อเนื่องมาจากรุ่น Mark I)
ประมวลผลผิดพลาดตลอดเวลา
เมื่อทีมงานเปิดฝาครอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ก็พบซากผีเสื้อกลางคืน
Moth
ตายแล้วเกาะติดอยู่ตรงแผงวงจร
เครื่องคอมพิวเตอร์บริเวณ Relay
ทำให้เกิดการลัดวงจร/ขัดขวางการทำงาน
ระบบการติดต่อภายใน
ของวงจรระบบการประมวลผล
พอหยิบแมลง Bug ออกมา
เครื่องก็ทำงานประมวลผลได้ตามปกติ
.
.
3.
.
.
Grace Hopper คือ
หนึ่งในนักโปรแกรมเมอร์คอมพิวเตอร์รุ่นแรก
เธอคือ คนแรกที่คิดค้นระบบประมวลผล
ตามคำสั่งด้วยภาษาอังกฤษแทนภาษาเครื่อง
English-language data-processing compiler
นั่นคือ ระบบพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรม
พื้นฐานเรียนรู้/พัฒนาทางด้านภาษา
ให้ระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานได้
ตามคำสั่งด้วยภาษาอังกฤษ
แทนการสั่งให้ทำงานด้วยภาษาเครื่อง
(ที่ใช้ระบบตัวเลขฐาน 2 ในยุคแรก)
ทำให้เขียน/พัฒนาโปรแกรมทำงานได้ง่ายขึ้น
เช่น โปรแกรม COBOL
ที่เธอมีส่วนช่วยในการพัฒนาโปรแกรม
เธอได้รับเกียรติยศหลายแห่งมาก
นอกเหนือจากรายงานค้นพบเรื่อง Bug
เธอจบปริญญาเอกด้านคณิตศาสตร์
จาก Yale University ในปี 1934
.
.
ภาษาเครื่อง ( Machine Language)
คือ การเขียนโปรแกรมด้วยตัวเลขฐาน 2
เวลาพิมพ์/ตรวจยากมาก/ตาลายไปหมด
เป็นภาษาโปรแกรมระดับต่ำที่สุด/เจาะลึกที่สุด
ซึ่งคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ทันที
โดยไม่ต้องผ่านตัวแปลภาษา
เพราะเขียนคำสั่งและแทนข้อมูล
ด้วยเลขฐานสอง (Binary Code) ทั้งหมด
ซึ่งเป็นการเขียนคำสั่งด้วยเลข 0 หรือ 1
ดังตัวอย่างคำสั่งภาษาเครื่อง ดังนี้
.
.
.
.
ในปี ค.ศ. 1952 รุ่นที่ 2 ยุคที่ 2
ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly Language)
ยังจัดอยู่ในภาษาระดับต่ำ
และพัฒนาต่อมาจากภาษาเครื่อง
มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก
คือ 1 คำสั่งของภาษาแอสเซมบลี
จะเท่ากับ 1 คำสั่งของภาษาเครื่อง
ภาษาแอสเซมบลีจะเขียนคำสั่ง
เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ
เพื่อใช้แทนคำสั่งภาษาเครื่อง
ทำให้นักเขียนโปรแกรม
เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
โดยต้องจำ Mnemonic code
รหัสคำสั้งที่สั้น ๆ ที่จำได้ง่ายขึ้น
.
.
.
.
.
ทุกวันนี้ไม่ค่อยมีคนใช้ภาษาเครื่องกันแล้ว
เว้นแต่ระดับเซียน/เมพที่ชอบใช้กัน
เพราะเครื่อง/โปรแกรมทำงานได้เร็วมาก
สมัยก่อนบางคนจะลบข้อมูลเดิมใน Eprom ออก
แล้วเขียนคำสั่งใหม่ใน Eprom ให้ทำงานตามสั่ง
โดยใช้ภาษาเครื่องเขียนคำสั่งในยุคแรก ๆ
เคยเห็นอาจารย์วิศวคอมพิวเตอร์สาธิตให้ดู
.
.
.
.
ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง รุ่นที่ 3
ได้แก่ BASIC COBOL FORTRAN และ C
ก็ได้รับความนิยมมากเช่นกัน
ใช้เขียนโปรแกรมแก้ปัญหาเฉพาะด้าน
เช่น การควบคุมหุ่นยนต์
การสร้างภาพกราฟิก
เพราะมีความยืดหยุ่นได้ดี
และเหมาะกับการใช้งานทั่ว ๆ ไป
ทุกวันนี้ภาษาพัฒนาไปรุ่น 5-6 แล้ว
เช่น Python อาจจะมีคำสั่งผิด/มีปัญหา
ก็ต้องค้นหา Bug ให้เจอ แล้ว Debug เสีย
ถ้าภาษาในบางวงการมักจะพูดว่า
เขียน Code ไล่ Code
วางผัง Code วางยา Code
และเตะมันออกจากระบบ Kick มันที
เวลาโปรแกรมมีปัญหาเอ๋อเหรอ Error
มักได้ยินในวงการ Mainframe
ถ้าเครื่อง Pc เอ๋อเหรอ ง่าย ๆ
ก็ Reset Shutdown Computer
ก็แค่จบแห่ ถ้าทำการคำนวณ/ตบแต่งภาพอยู่
เพราะทุกอย่างที่ทำอยู่แหลกสลายลงไปกับตา
เหลือเพียงความว่างเปล่าเท่านั้น
ไม่เหลืออะไรเลย ดับสลายลงไปกับตา
.
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/3aHNr8m
https://bit.ly/2LRCPJM
.
.
4.
.
Hopper in a computer room
in Washington, D.C., 1978,
photographed by Lynn Gilbert
.
5.
.
At the UNIVAC I console, c. 1960
.
6.
.
7.
.
Closeup of input/output
and control readers
.
8.
.
The left end consisted of
electromechanical computing component
.
9.
.
The right end included data
and program readers,
and automatic typewriters
.
10.
.
Tape punch used to prepare programs
.
11.
.
Program tape with visible
programming patches
.
12.
.
Rotary switches used to enter
program data constants
.
13.
.
Sequence indicators and switches
.
14.
.
Rear view of computing section
.
.
เรื่องเดิมที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
.
หน่วยความจำคอมพิวเตอร์ในอดีตถักด้วยมือสตรี
.
.
.
Bug ตัวแรกของโลกคอมพิวเตอร์
.
2.
.
Photograph Courtesy Naval Surface
Wafare Center Dahlgren Virginia
.
2.1
.
.
Computer Bug
9 กันยายน 1947 เป็นครั้งแรกทึ่พบ Bug
ทีมงานนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
ของ Harvard University
ได้รายงาน Bug คอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก
คือ ผีเสื้อกลางคืน(Bug/Moth) ที่ตายแล้ว
พบว่ายังเกาะอยู่ที่รีเลย์/แผงวงจร
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสูญญากาศ
ทำให้เกิดการลัดวงจร/ชอร์ตตรงบริเวณนั้น
มีผลทำให้การประมวลผลคอมเอ๋อเหรอ Error
ก็แค่ Debug ดึงตัว Bug ออกมา
ให้หลุดออกจากแผงวงจรดังกล่าว
เครื่องก็ทำงานประมวลผลได้ปกติตามเดิม
ยุคนั้นยังใช้ระบบหลอดสูญญากาศ
ผสานการทำงานกับตัวรีเลย์
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีตัวรีเลย์จำนวนมาก คือ
เครื่องเล่น PinBall ยุคแรกเริ่ม
ยังไม่มีการผลิต Transiters, IC, Chip CPU
ที่เข้ามาทำงานแทนที่หลอดได้อย่างมหาศาล
ทั้งยังทำงานได้เร็วกว่าหลายพันเท่าตัว
.
.
.
ในช่วงปี 1800
Thomas Edison ก็เคยรายงาน Bugs
เรื่องเสียงรบกวนในสายโทรศัพท์
คล้ายกับเสียงแมลงในสาย
โดยให้ทดสอบ/ให้ไปฟังเสียงในห้องเงียบ
ที่ไร้เสียงรบกวนโสตประสาทจากภายนอก
.
.
นี่คือ Bug ตัวแรกของโลก
ที่มีผลกระทบต่อคอมพิวเตอร์
ทุกวันนี้ถ้าเกิดมีปัญหา/มีผลกระทบ
ต่อระบบคอมพิวเตอร์ การประมวลผล
/เงื่อนไขคำสั่งในการทำงานของโปรแกรม
ความปลอดภัย/ระบบการป้องกันคอมพิวเตอร์
การเปิดปิดระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
Computer Operating Systems
มักจะเรียกรวม ๆ ว่า Bug
ใน Software/Hardware
ทำให้ทั้ง Windows Mac Linus
ผู้ผลิต Chip Card ต่าง ๆ
ต้อง Update Software Firmware กันตลอด
ไม่เคยหยุดนิ่งเพื่อป้องกัน Bug
กับให้คอมพิวเตอร์มีเสถียรภาพมากที่สุด
Debugging/การบริหารจัดการแก้ไข Bug
คือ เรื่องสำคัญของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์
.
.
.
.
ผู้ค้นพบ Bug ครั้งแรกของโลกคอมพิวเตอร์
คือ Grace Hopper
เธอคือหนึ่งในทีมงานที่เขียนปูมบันทึกครั้งนี้
เธอยังทำงานร่วมกับหลายมหาวิทยาลัย
Harvard Cambridge และ Massachusetts
เธอค้นพบว่าคอมพิวเตอร์ Mark II
(พัฒนาต่อเนื่องมาจากรุ่น Mark I)
ประมวลผลผิดพลาดตลอดเวลา
เมื่อทีมงานเปิดฝาครอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ก็พบซากผีเสื้อกลางคืน Moth
ตายแล้วเกาะติดอยู่ตรงแผงวงจร
เครื่องคอมพิวเตอร์บริเวณ Relay
ทำให้เกิดการลัดวงจร/ขัดขวางการทำงาน
ระบบการติดต่อภายใน
ของวงจรระบบการประมวลผล
พอหยิบแมลง Bug ออกมา
เครื่องก็ทำงานประมวลผลได้ตามปกติ
.
3.
.
Grace Hopper คือ
หนึ่งในนักโปรแกรมเมอร์คอมพิวเตอร์รุ่นแรก
เธอคือ คนแรกที่คิดค้นระบบประมวลผล
ตามคำสั่งด้วยภาษาอังกฤษแทนภาษาเครื่อง
English-language data-processing compiler
นั่นคือ ระบบพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรม
พื้นฐานเรียนรู้/พัฒนาทางด้านภาษา
ให้ระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานได้
ตามคำสั่งด้วยภาษาอังกฤษ
แทนการสั่งให้ทำงานด้วยภาษาเครื่อง
(ที่ใช้ระบบตัวเลขฐาน 2 ในยุคแรก)
ทำให้เขียน/พัฒนาโปรแกรมทำงานได้ง่ายขึ้น
เช่น โปรแกรม COBOL
ที่เธอมีส่วนช่วยในการพัฒนาโปรแกรม
เธอได้รับเกียรติยศหลายแห่งมาก
นอกเหนือจากรายงานค้นพบเรื่อง Bug
เธอจบปริญญาเอกด้านคณิตศาสตร์
จาก Yale University ในปี 1934
.
.
ภาษาเครื่อง ( Machine Language)
คือ การเขียนโปรแกรมด้วยตัวเลขฐาน 2
เวลาพิมพ์/ตรวจยากมาก/ตาลายไปหมด
เป็นภาษาโปรแกรมระดับต่ำที่สุด/เจาะลึกที่สุด
ซึ่งคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ทันที
โดยไม่ต้องผ่านตัวแปลภาษา
เพราะเขียนคำสั่งและแทนข้อมูล
ด้วยเลขฐานสอง (Binary Code) ทั้งหมด
ซึ่งเป็นการเขียนคำสั่งด้วยเลข 0 หรือ 1
ดังตัวอย่างคำสั่งภาษาเครื่อง ดังนี้
.
.
.
ในปี ค.ศ. 1952 รุ่นที่ 2 ยุคที่ 2
ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly Language)
ยังจัดอยู่ในภาษาระดับต่ำ
และพัฒนาต่อมาจากภาษาเครื่อง
มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก
คือ 1 คำสั่งของภาษาแอสเซมบลี
จะเท่ากับ 1 คำสั่งของภาษาเครื่อง
ภาษาแอสเซมบลีจะเขียนคำสั่ง
เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ
เพื่อใช้แทนคำสั่งภาษาเครื่อง
ทำให้นักเขียนโปรแกรม
เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
โดยต้องจำ Mnemonic code
รหัสคำสั้งที่สั้น ๆ ที่จำได้ง่ายขึ้น
.
.
.
.
ทุกวันนี้ไม่ค่อยมีคนใช้ภาษาเครื่องกันแล้ว
เว้นแต่ระดับเซียน/เมพที่ชอบใช้กัน
เพราะเครื่อง/โปรแกรมทำงานได้เร็วมาก
สมัยก่อนบางคนจะลบข้อมูลเดิมใน Eprom ออก
แล้วเขียนคำสั่งใหม่ใน Eprom ให้ทำงานตามสั่ง
โดยใช้ภาษาเครื่องเขียนคำสั่งในยุคแรก ๆ
เคยเห็นอาจารย์วิศวคอมพิวเตอร์สาธิตให้ดู
.
.
ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง รุ่นที่ 3
ได้แก่ BASIC COBOL FORTRAN และ C
ก็ได้รับความนิยมมากเช่นกัน
ใช้เขียนโปรแกรมแก้ปัญหาเฉพาะด้าน
เช่น การควบคุมหุ่นยนต์
การสร้างภาพกราฟิก
เพราะมีความยืดหยุ่นได้ดี
และเหมาะกับการใช้งานทั่ว ๆ ไป
ทุกวันนี้ภาษาพัฒนาไปรุ่น 5-6 แล้ว
เช่น Python อาจจะมีคำสั่งผิด/มีปัญหา
ก็ต้องค้นหา Bug ให้เจอ แล้ว Debug เสีย
ถ้าภาษาในบางวงการมักจะพูดว่า
เขียน Code ไล่ Code
วางผัง Code วางยา Code
และเตะมันออกจากระบบ Kick มันที
เวลาโปรแกรมมีปัญหาเอ๋อเหรอ Error
มักได้ยินในวงการ Mainframe
ถ้าเครื่อง Pc เอ๋อเหรอ ง่าย ๆ
ก็ Reset Shutdown Computer
ก็แค่จบแห่ ถ้าทำการคำนวณ/ตบแต่งภาพอยู่
เพราะทุกอย่างที่ทำอยู่แหลกสลายลงไปกับตา
เหลือเพียงความว่างเปล่าเท่านั้น
ไม่เหลืออะไรเลย ดับสลายลงไปกับตา
.
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/3aHNr8m
https://bit.ly/2LRCPJM
.
4.
.
Hopper in a computer room
in Washington, D.C., 1978,
photographed by Lynn Gilbert
.
5.
.
At the UNIVAC I console, c. 1960
.
6.
.
7.
.
Closeup of input/output
and control readers
.
8.
.
The left end consisted of
electromechanical computing component
.
9.
.
The right end included data
and program readers,
and automatic typewriters
.
10.
.
Tape punch used to prepare programs
.
11.
.
Program tape with visible
programming patches
.
12.
.
Rotary switches used to enter
program data constants
.
13.
.
Sequence indicators and switches
.
14.
.
Rear view of computing section
.
.
เรื่องเดิมที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
.
หน่วยความจำคอมพิวเตอร์ในอดีตถักด้วยมือสตรี
.
.
.