ผมคิดว่ามุมมองความคิดของผมอาจจะถูกจำกัดด้วยวิสัยทัศของตัวเองไม่สามารถมองเห็นในวิสัยทัศอื่นได้ผมเลยอยากฟังความเห็นของคนอื่นเพื่อพิจารณาเพิ่ม ถามไว้เป็นความร็ติดตัวครับ
สิ่งที่ผมเล็งเห็นและคาดว่าจะเกิด
1 "ชุดเก่ากับชุดใหม่" การแบ่งกลุ่มการแต่งกายจะทำให้เกิดความเข้ากันได้และเข้ากันไม่ได้ เป็นตัวแบ่งแย
กาสถานะการแต่งการกาย
ขอยกตัวอย่างให้เข้าใจ ถ้ามีคน 10 คนแต่งตัวธรรมดา กับคน 10 คนแต่งตัวเสื้อผ้าเก่า (เผื่อไว้ก่อนไม่ได้จะดู
ถูกใครนะครับแต่ผมขอยกตัวอย่างเพื่อจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เพราะเวลาพูดถึงประเด็นแบบนี้อาจจะมี
ความอ่อนไหวและเกิดความไม่พอใจได้เลยกลัวว่าจะเป็นแบบนั้นเลยบอกให้เข้าใจไว้ก่อน)
- จะทำให้เกิดความรู้สึกที่ว่าไม่อยากเข้าใกล้คนที่แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าเก่า เพราะเกิดการแบ่งแยกในสังคมเรามี
คนมากมายทั้งคนที่แบ่งแยกและไม่แบ่งแยกหากว่าเป็นแบบนี้เพื่อนที่สนิทกันอาจจะไม่อยากคุยกับเพื่อที่เคย
สนิทกันดีเพราะการแต่งตัว
- เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมใหม่ เกิดปัญหาความกดดันและกับสภาพจิตใจ คนที่ใส่เสื้อผ้าเก่ารู้สึกอึดอัด
เมื่ออยู่ในกลุ่มคนที่แต่งตัวธรรมดา ผมคิดว่าคงมีบ้างเหมือนเราไปกินเลี้ยงกันเพื่อนเพื่อนช่วยกันออกแต่เรา
ไม่มีเงินเพื่อนใจดีเลยไม่เป็นไรเพื่อนกันนานเจอกับมากินด้วยกันแต่ตัวเราก็ยังรู้สึกเกรงใจ
-เมื่อต้องทำงานกลุ่มอาจจะมีคนไม่อยากเข้ากลุ่มด้วย
ทั้งหมดทั้ง แม้จะไม่มีการดูถูกกันแต่ตัวเราก็ยังรู้สึกถึงความไม่เท่าเทียมและอาจรู้สึกน้อยเนื้อต่ำใจก็ได้
ย้ำผมแค่คาดการณ์อาจจะไม่เกิดขึ้นก็ได้
- แม้จะบอกว่าไปเรียนเพื่อหวังความรู้แต่สภาพฐานะในสังคมก็ไปแล้วอาจจะเกิดผลเสียต่อจิตใจ
2 "ใครว่าชุดธรรมดาไม่เปลือง" ผมคิดว่านี่ก็เป็นตัวเหลื่อมล้ำได้เหมือนกัน อาจจะเกิดปัญหาอายเพราะใส่ชุดซ้ำ
โดนเพื่อนล้อ(ขนาดผมใส่เสื้อนักเรียนซ้ำยังเคยโดนล้อเลยแต่ซักแล้วแต่มันมีรอยปากกาจากเมื่อวาน)คิดว่าชุด
ธรรมดาไม่เหลือแต่หากเป็นชุดนักเรียนแม้จะโดนล้อก็ไม่คิดว่าแปลกเพราะทุกคนใส่เหมือนกันมันก็ทำให้เรา
รู้สึกสบายใจขึ้นมีความมั่นใจมากกว่าการใส่ชุดธรรมดาแล้วโดนล้อว่าใส่ชุดซ้ำในขณะที่เพื่อนใส่ชุดใหม่ตลอด เสื้อยืดผม 2
เดือนมั้งสีซีดแล้ว ไปๆมาๆไม่ใช่ว่าจะซื้อชุดบ่อยกว่าชุดนักเรียนหรอ อันนี้สงสัย กล่าวคือ แม้จะจัดการปัญหา
ความเหลือล้ำไม่ได้แต่ก็ลดความเหลื่อมล้ำได้ในระดับนึงในกรณีที่ใส่ชุดนักเรียนเหมือนกัน
ชุดนักเรียน
ผมคิดว่าการใส่ชุดนักเรียนไม่เป็นการละเมิดสิทธิ ทุกสถานที่ย่อมมีกฏของสถานที่นั้นเมื่อเราอยู่ร่วมกันใน
สถานที่นั้นๆเราก็ต้องเคารพกฏเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ใหญ่ขึ้นลดการขัดแย้ง เพื่อความเป็นหนึ่งเดียวกัน
เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อสัญลักษณ์ขององกรค์ เป็นชุดยูนิฟอร์มที่สร้างมาเพื่อการอยู่ร่วมกันนั่นเอง
-ชุดนักเรียนคือตัวบ่งบอกสถานะของคนนั้นได้ว่าเขาเป็นนักเรียนใครเห็นก็อ๋อและจะรู้วิธีการปฏิบัติกับเด็กนัก
เรียน เวลาที่ไปทำไม่ดีเล็กๆน้อยๆพอรู้ว่าเป็นนักเรียนก็อาจจะไม่อยากด่าแต่หันมาตักเดือนแทน สมมติว่าเกิด
เรื่องไม่คาดฝัน อุบัติเหตุ หรือโดนทำร้ายอะไรก็แล้วแต่ในกรณีที่ผู้พบเห็นไม่รู้ว่าจะติดต่อใครสามารถติดต่อไป
ทางโรงเรียนได้ ในกรณีที่ไปทะเลาะวิวาทกันด้วยเช่นกัน
-ผมมองว่าเป็นการโปรโมทโรงเรียนไปในตัวด้วยนะสมมติว่า เด็กนักเรียนคนนี้ทำความดีช่วยเหลือคนใน
ขณะที่ใส่ชุดนักเรียนคนอื่นพบเห็นก็คิดว่าเด็กนักเรียนโรงเรียนนี้ดีอยากส่งลูกไปเรียนมั่งก็ได้
-การใส่ชุดนักเรียนคือการรักษาระเบียบวินัยไปในตัว เสื้อทับใน รองเท้า เสื้อขาวสะอาด เราจะไม่รู้สึกอยากเล่นซนให้เสื้อเลอะ
ไม่ได้แล้วสิแถมใช่เวลาในการแต่งตัวด้วย ตรงจุดนี้จะช่วยฝึกฝนขัดเกลาตัวเองไปในตัวได้ กล่าวคือทำให้ผู้ใส่
สุภาพขึ้นได้
-ลดภาระค่าใช้จ่าย อย่างที่บอกไปว่าชุดธรรมดาก็มีโอกาสเปลี่ยนบ่อยได้เหมือนกันแต่ชุดนักเรียนปีละครั้งหรือ
อาจจะปีละชุดก็ได้ สมมติมี 3 ชำรุดขาดไปหนึ่งก็ซื้อมาเพิ่มและสับเปลี่ยนกันใช้มันคงไม่เสียหายพร้อมกัน หรือ
ในบางกรณีกางเกงนักเรียนตัวเดียวใส่ตั้งแต่ ม.1-ม.3 ก็มีนะ ถึงแม้จะมีคนบอกว่าเวลาซื้อชุดนักเรียนเห็นคน
เข้าโรงจำนำเพื่อเอาเงินมาซื้อชุดอันนี้ก็ต้องดูด้วยว่าช่วงนั้นครอบครัวเกิดวิกฤติเรื่องเงินหรือเปล่า แถมชุดนัก
เรียนส่งต่อให้คนอื่นได้ด้วย
ส่วนตัวผมไม่เห็นด้วยกับการยกเลิกชุดนักเรียน
เราต้องค่อยๆปรับ ทั้งด้านทัศนคติ สังคม การสอน
ถ้าจะเปลี่ยนคงต้องติดประกาศไว้เลยว่าโรงเรียนนี้ใส่ชุดธรรมดาได้ เพื่อให้เป็นตัวเลือกกับกลุ่มคนและเขายอม
รับเงื่อนไขของ โรงเรียนได้ว่าให้ใส่ชุดธรรมดา โรงเรียนไหนใส่ชุดนักเรียนก็มีไป สร้างตัวเลือกเพิ่มขึ้นมาคนที่
ยอมรับได้ก็ให้เขาเรียนในโรงเรียนที่ใส่ชุดธรรมดาไปและปัญหาที่ผมคิดก็คงจะเกิดน้อยลง
ขอถามหน่อยครับเห็นด้วยกับการยกเลิกชุดนักเรียนไหมส่วนตัวผมไม่เห็นด้วย
สิ่งที่ผมเล็งเห็นและคาดว่าจะเกิด
1 "ชุดเก่ากับชุดใหม่" การแบ่งกลุ่มการแต่งกายจะทำให้เกิดความเข้ากันได้และเข้ากันไม่ได้ เป็นตัวแบ่งแย
กาสถานะการแต่งการกาย
ขอยกตัวอย่างให้เข้าใจ ถ้ามีคน 10 คนแต่งตัวธรรมดา กับคน 10 คนแต่งตัวเสื้อผ้าเก่า (เผื่อไว้ก่อนไม่ได้จะดู
ถูกใครนะครับแต่ผมขอยกตัวอย่างเพื่อจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เพราะเวลาพูดถึงประเด็นแบบนี้อาจจะมี
ความอ่อนไหวและเกิดความไม่พอใจได้เลยกลัวว่าจะเป็นแบบนั้นเลยบอกให้เข้าใจไว้ก่อน)
- จะทำให้เกิดความรู้สึกที่ว่าไม่อยากเข้าใกล้คนที่แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าเก่า เพราะเกิดการแบ่งแยกในสังคมเรามี
คนมากมายทั้งคนที่แบ่งแยกและไม่แบ่งแยกหากว่าเป็นแบบนี้เพื่อนที่สนิทกันอาจจะไม่อยากคุยกับเพื่อที่เคย
สนิทกันดีเพราะการแต่งตัว
- เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมใหม่ เกิดปัญหาความกดดันและกับสภาพจิตใจ คนที่ใส่เสื้อผ้าเก่ารู้สึกอึดอัด
เมื่ออยู่ในกลุ่มคนที่แต่งตัวธรรมดา ผมคิดว่าคงมีบ้างเหมือนเราไปกินเลี้ยงกันเพื่อนเพื่อนช่วยกันออกแต่เรา
ไม่มีเงินเพื่อนใจดีเลยไม่เป็นไรเพื่อนกันนานเจอกับมากินด้วยกันแต่ตัวเราก็ยังรู้สึกเกรงใจ
-เมื่อต้องทำงานกลุ่มอาจจะมีคนไม่อยากเข้ากลุ่มด้วย
ทั้งหมดทั้ง แม้จะไม่มีการดูถูกกันแต่ตัวเราก็ยังรู้สึกถึงความไม่เท่าเทียมและอาจรู้สึกน้อยเนื้อต่ำใจก็ได้
ย้ำผมแค่คาดการณ์อาจจะไม่เกิดขึ้นก็ได้
- แม้จะบอกว่าไปเรียนเพื่อหวังความรู้แต่สภาพฐานะในสังคมก็ไปแล้วอาจจะเกิดผลเสียต่อจิตใจ
2 "ใครว่าชุดธรรมดาไม่เปลือง" ผมคิดว่านี่ก็เป็นตัวเหลื่อมล้ำได้เหมือนกัน อาจจะเกิดปัญหาอายเพราะใส่ชุดซ้ำ
โดนเพื่อนล้อ(ขนาดผมใส่เสื้อนักเรียนซ้ำยังเคยโดนล้อเลยแต่ซักแล้วแต่มันมีรอยปากกาจากเมื่อวาน)คิดว่าชุด
ธรรมดาไม่เหลือแต่หากเป็นชุดนักเรียนแม้จะโดนล้อก็ไม่คิดว่าแปลกเพราะทุกคนใส่เหมือนกันมันก็ทำให้เรา
รู้สึกสบายใจขึ้นมีความมั่นใจมากกว่าการใส่ชุดธรรมดาแล้วโดนล้อว่าใส่ชุดซ้ำในขณะที่เพื่อนใส่ชุดใหม่ตลอด เสื้อยืดผม 2
เดือนมั้งสีซีดแล้ว ไปๆมาๆไม่ใช่ว่าจะซื้อชุดบ่อยกว่าชุดนักเรียนหรอ อันนี้สงสัย กล่าวคือ แม้จะจัดการปัญหา
ความเหลือล้ำไม่ได้แต่ก็ลดความเหลื่อมล้ำได้ในระดับนึงในกรณีที่ใส่ชุดนักเรียนเหมือนกัน
ชุดนักเรียน
ผมคิดว่าการใส่ชุดนักเรียนไม่เป็นการละเมิดสิทธิ ทุกสถานที่ย่อมมีกฏของสถานที่นั้นเมื่อเราอยู่ร่วมกันใน
สถานที่นั้นๆเราก็ต้องเคารพกฏเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ใหญ่ขึ้นลดการขัดแย้ง เพื่อความเป็นหนึ่งเดียวกัน
เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อสัญลักษณ์ขององกรค์ เป็นชุดยูนิฟอร์มที่สร้างมาเพื่อการอยู่ร่วมกันนั่นเอง
-ชุดนักเรียนคือตัวบ่งบอกสถานะของคนนั้นได้ว่าเขาเป็นนักเรียนใครเห็นก็อ๋อและจะรู้วิธีการปฏิบัติกับเด็กนัก
เรียน เวลาที่ไปทำไม่ดีเล็กๆน้อยๆพอรู้ว่าเป็นนักเรียนก็อาจจะไม่อยากด่าแต่หันมาตักเดือนแทน สมมติว่าเกิด
เรื่องไม่คาดฝัน อุบัติเหตุ หรือโดนทำร้ายอะไรก็แล้วแต่ในกรณีที่ผู้พบเห็นไม่รู้ว่าจะติดต่อใครสามารถติดต่อไป
ทางโรงเรียนได้ ในกรณีที่ไปทะเลาะวิวาทกันด้วยเช่นกัน
-ผมมองว่าเป็นการโปรโมทโรงเรียนไปในตัวด้วยนะสมมติว่า เด็กนักเรียนคนนี้ทำความดีช่วยเหลือคนใน
ขณะที่ใส่ชุดนักเรียนคนอื่นพบเห็นก็คิดว่าเด็กนักเรียนโรงเรียนนี้ดีอยากส่งลูกไปเรียนมั่งก็ได้
-การใส่ชุดนักเรียนคือการรักษาระเบียบวินัยไปในตัว เสื้อทับใน รองเท้า เสื้อขาวสะอาด เราจะไม่รู้สึกอยากเล่นซนให้เสื้อเลอะ
ไม่ได้แล้วสิแถมใช่เวลาในการแต่งตัวด้วย ตรงจุดนี้จะช่วยฝึกฝนขัดเกลาตัวเองไปในตัวได้ กล่าวคือทำให้ผู้ใส่
สุภาพขึ้นได้
-ลดภาระค่าใช้จ่าย อย่างที่บอกไปว่าชุดธรรมดาก็มีโอกาสเปลี่ยนบ่อยได้เหมือนกันแต่ชุดนักเรียนปีละครั้งหรือ
อาจจะปีละชุดก็ได้ สมมติมี 3 ชำรุดขาดไปหนึ่งก็ซื้อมาเพิ่มและสับเปลี่ยนกันใช้มันคงไม่เสียหายพร้อมกัน หรือ
ในบางกรณีกางเกงนักเรียนตัวเดียวใส่ตั้งแต่ ม.1-ม.3 ก็มีนะ ถึงแม้จะมีคนบอกว่าเวลาซื้อชุดนักเรียนเห็นคน
เข้าโรงจำนำเพื่อเอาเงินมาซื้อชุดอันนี้ก็ต้องดูด้วยว่าช่วงนั้นครอบครัวเกิดวิกฤติเรื่องเงินหรือเปล่า แถมชุดนัก
เรียนส่งต่อให้คนอื่นได้ด้วย
ส่วนตัวผมไม่เห็นด้วยกับการยกเลิกชุดนักเรียน
เราต้องค่อยๆปรับ ทั้งด้านทัศนคติ สังคม การสอน
ถ้าจะเปลี่ยนคงต้องติดประกาศไว้เลยว่าโรงเรียนนี้ใส่ชุดธรรมดาได้ เพื่อให้เป็นตัวเลือกกับกลุ่มคนและเขายอม
รับเงื่อนไขของ โรงเรียนได้ว่าให้ใส่ชุดธรรมดา โรงเรียนไหนใส่ชุดนักเรียนก็มีไป สร้างตัวเลือกเพิ่มขึ้นมาคนที่
ยอมรับได้ก็ให้เขาเรียนในโรงเรียนที่ใส่ชุดธรรมดาไปและปัญหาที่ผมคิดก็คงจะเกิดน้อยลง