การที่เด็กจะกลายเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดานั้น สามารถทำได้ 3 วิธีการตาม ป.พ.พ.มาตรา 1547
-
บิดามารดาจดทะเบียนสมรสกัน เมื่อบิดามารดาโดยสายโลหิตได้จดทะเบียนสมรสกัน บุตรที่เกิดมาก่อนแล้วก็จะกลายเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดาไปด้วย
- บิดาดำเนินการยื่นคำร้องขอจดทะเบียนว่าเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายและได้รับความยินยอมจากทั้งมารดาและเด็ก
- ร้องต่อศาลเพื่อให้ศาลมีคำสั่งศาลเพื่อให้สามารถดำเนินการจดทะเบียนรับรองเด็กเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดา
คำถาม
ในกรณีที่พ่อ-แม่ ถือฤกษ์ยาม
ได้ฤกษ์ไปจดทะเบียนกันหลังบุตรคลอดออกมาแล้ว
เมื่อจดทะเบียนเรียบร้อยแล้ว
พ่อ-ลูก จะได้รับการรับรองทางกฎหมาย โดยปริยายหรือไม่ครับ? ว่าเป็นพ่อลูกกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือว่ายังต้องไปจดทะเบียนรับรองบุตรอีก?
อ้างอิง ข้อความข้างต้นที่ว่า
บิดามารดาจดทะเบียนสมรสกัน เมื่อบิดามารดาโดยสายโลหิตได้จดทะเบียนสมรสกัน บุตรที่เกิดมาก่อนแล้วก็จะกลายเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดาไปด้วย
ช่วยไขข้อข้องใจให้ด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ถามเกี่ยวกับการรับรองบุตรครับ ผู้รู้กฎหมายช่วยฟันธงให้ทีครับ
- บิดามารดาจดทะเบียนสมรสกัน เมื่อบิดามารดาโดยสายโลหิตได้จดทะเบียนสมรสกัน บุตรที่เกิดมาก่อนแล้วก็จะกลายเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดาไปด้วย
- บิดาดำเนินการยื่นคำร้องขอจดทะเบียนว่าเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายและได้รับความยินยอมจากทั้งมารดาและเด็ก
- ร้องต่อศาลเพื่อให้ศาลมีคำสั่งศาลเพื่อให้สามารถดำเนินการจดทะเบียนรับรองเด็กเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดา
คำถาม
ในกรณีที่พ่อ-แม่ ถือฤกษ์ยาม
ได้ฤกษ์ไปจดทะเบียนกันหลังบุตรคลอดออกมาแล้ว
เมื่อจดทะเบียนเรียบร้อยแล้ว
พ่อ-ลูก จะได้รับการรับรองทางกฎหมาย โดยปริยายหรือไม่ครับ? ว่าเป็นพ่อลูกกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือว่ายังต้องไปจดทะเบียนรับรองบุตรอีก?
อ้างอิง ข้อความข้างต้นที่ว่า
บิดามารดาจดทะเบียนสมรสกัน เมื่อบิดามารดาโดยสายโลหิตได้จดทะเบียนสมรสกัน บุตรที่เกิดมาก่อนแล้วก็จะกลายเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดาไปด้วย
ช่วยไขข้อข้องใจให้ด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ