พลูคาว ผักแกล้มลาบ ที่ กลายเป็น สมุนไพร ต้านไวรัส ระดับชาติ
พลูคาว หรือ คาวตอง จากผักแกล้มลาบ ดันกลายเป็นวาระระดับชาติด้วยผลของการต้านไวรัสระดับพระกาฬ หาตัวจับยากไปซะอย่างงั้น ทำไมพลูคาว หรือ คาวตอง จึงเป็นผักที่มีความสามารถในการต้านไวรัสได้ และ ยังส่งผลต่อไวรัสหลายชนิดด้วย ตัวอย่างที่เห็นเป็นเชิงประจักษ์แล้ว คือ ไข้หวัดนก กับผักพื้นเมืองธรรมดา พลูคาวทำแบบนั้นได้อย่างไร ต้านไวรัสได้อย่างไร
พบคำตอบได้ในบทความนี้
พลูคาว หรือ คาวตอง เดิมทีเป็นผักที่ไม่ได้รับความนิยมในการกินมากเท่าไหร่ อาจจะเพราะเอกลักษณ์ประจำตัว เรื่องของกลิ่น และ รสชาติ ของพลูคาวนั้น ต้องบอกเลยว่า ไม่ได้อร่อยอย่างที่คิด เพราะมีรสคาว เขื่อน เอียน เป็นกลิ่นประจำตัวเมื่อทานเข้าไป ทำให้หลายคนเมื่อได้ ลองลิ้มชิมรสแล้ว มีอันต้องเบือนหน้าหนี แต่ด้วยรสชาติดังกล่าว ที่มีความเขื่อนเอียน ดันตัดกับรสชาติของลาบ ก้อย ยำ พล่าซ่า ได้ซะงั้น
ประโยชนที่น่าสนใจของพลูคาวอีกอย่างคือ กลิ่นของมัน สามารถดับกลิ่นเนื้อต่าง ๆ ได้ เช่นเนื้อหมู และ ยังมีการวิจัยที่รองรับว่า สกัดออกมาแล้วยังเป็นยาที่ให้ผลรักษาโรคได้อีกด้วย
ทำความรู้จักพลูคาวมากขึ้นอีกหน่อย
พลูคาว เป็นพืชล้มลุกต่อหลายช่วงอายุ เกิดได้ในทุกภาคทั่วไทย เป็นต้นที่มีลำต้นเลื้อยไปทั่ว แตกออกจากรากเป็นช่อชูขึ้น เป็นช่อยอดใบ ลำต้นอยู่ใต้ดิน ใบกว้าง 1-1.5 เซน ยาว 2-3 เซ็น ปลายใบแหลม ฐานใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบเรียบ ก้านยาว 2-3 เซน
ซึ่งเป็นพืชที่เกิดได้ทั่วไป ขึ้นตามธรรมชาติ โดยสรรพคุณเบื้องต้น หมอยาแจ้งว่า รักษากามโรค โรคน้ำเหลือง แก้เรื่องโรคผิวหนังทุกชนิด หมอจีนแจ้งเรื่องสรรพคุณขับปัสสาวะ รักษาอาการอักเสบ ระงับเชื่อโรคได้อีกหลายชนิด อ่านแค่นี้ก็ว้าวแล้ว
แต่อีกหนึ่งสรรพคุณยาร้อนของพลูคาว ยังทำให้ประหลาดใจได้อีก คือเรื่องการรักษาอาการต่าง ๆ ของร่างกายที่เกิดจากความเย็น เช่น ท้องอืดเฟ้อ ครั่นเนื้อตัว ไข้หวัด ปรับสมดุล ป้องกันอาการเจ็บไข้
โดยในความเป็นจริงตามฐานข้อมูล พบว่า การใช้พลูคาวรักษาโรคนั้น มีระยะเวลาการใช้งาน มาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว นักวิจัยนำมาศึกษาต่อ ยังพบจุลินทรีย์ 2 สายพันธุ์ ที่โคตรพิเศษ
1. มันกลืนกินแบคทีเรียและไวรัสทุกชนิดในร่างกายมนุษย์ และ
2. คุณสมบัติควบคู่คือช่วยต้านทานโรคได้อีกด้วย
อ่านข้อมูลความรู้เพิ่มเติมได้ที่
https://www.xn--22c0ba2bj2d0c0abw.com/%e0%b8%9e%e0%b8%a5%e0%b8%b9%e0%b8%84%e0%b8%b2%e0%b8%a7/
พลูคาว ผักแกล้มลาบที่กลายเป็น สมุนไพร ต้านไวรัสระดับชาติ
พลูคาว หรือ คาวตอง จากผักแกล้มลาบ ดันกลายเป็นวาระระดับชาติด้วยผลของการต้านไวรัสระดับพระกาฬ หาตัวจับยากไปซะอย่างงั้น ทำไมพลูคาว หรือ คาวตอง จึงเป็นผักที่มีความสามารถในการต้านไวรัสได้ และ ยังส่งผลต่อไวรัสหลายชนิดด้วย ตัวอย่างที่เห็นเป็นเชิงประจักษ์แล้ว คือ ไข้หวัดนก กับผักพื้นเมืองธรรมดา พลูคาวทำแบบนั้นได้อย่างไร ต้านไวรัสได้อย่างไร
พบคำตอบได้ในบทความนี้
พลูคาว หรือ คาวตอง เดิมทีเป็นผักที่ไม่ได้รับความนิยมในการกินมากเท่าไหร่ อาจจะเพราะเอกลักษณ์ประจำตัว เรื่องของกลิ่น และ รสชาติ ของพลูคาวนั้น ต้องบอกเลยว่า ไม่ได้อร่อยอย่างที่คิด เพราะมีรสคาว เขื่อน เอียน เป็นกลิ่นประจำตัวเมื่อทานเข้าไป ทำให้หลายคนเมื่อได้ ลองลิ้มชิมรสแล้ว มีอันต้องเบือนหน้าหนี แต่ด้วยรสชาติดังกล่าว ที่มีความเขื่อนเอียน ดันตัดกับรสชาติของลาบ ก้อย ยำ พล่าซ่า ได้ซะงั้น
ประโยชนที่น่าสนใจของพลูคาวอีกอย่างคือ กลิ่นของมัน สามารถดับกลิ่นเนื้อต่าง ๆ ได้ เช่นเนื้อหมู และ ยังมีการวิจัยที่รองรับว่า สกัดออกมาแล้วยังเป็นยาที่ให้ผลรักษาโรคได้อีกด้วย
ทำความรู้จักพลูคาวมากขึ้นอีกหน่อย
พลูคาว เป็นพืชล้มลุกต่อหลายช่วงอายุ เกิดได้ในทุกภาคทั่วไทย เป็นต้นที่มีลำต้นเลื้อยไปทั่ว แตกออกจากรากเป็นช่อชูขึ้น เป็นช่อยอดใบ ลำต้นอยู่ใต้ดิน ใบกว้าง 1-1.5 เซน ยาว 2-3 เซ็น ปลายใบแหลม ฐานใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบเรียบ ก้านยาว 2-3 เซน
ซึ่งเป็นพืชที่เกิดได้ทั่วไป ขึ้นตามธรรมชาติ โดยสรรพคุณเบื้องต้น หมอยาแจ้งว่า รักษากามโรค โรคน้ำเหลือง แก้เรื่องโรคผิวหนังทุกชนิด หมอจีนแจ้งเรื่องสรรพคุณขับปัสสาวะ รักษาอาการอักเสบ ระงับเชื่อโรคได้อีกหลายชนิด อ่านแค่นี้ก็ว้าวแล้ว
แต่อีกหนึ่งสรรพคุณยาร้อนของพลูคาว ยังทำให้ประหลาดใจได้อีก คือเรื่องการรักษาอาการต่าง ๆ ของร่างกายที่เกิดจากความเย็น เช่น ท้องอืดเฟ้อ ครั่นเนื้อตัว ไข้หวัด ปรับสมดุล ป้องกันอาการเจ็บไข้
โดยในความเป็นจริงตามฐานข้อมูล พบว่า การใช้พลูคาวรักษาโรคนั้น มีระยะเวลาการใช้งาน มาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว นักวิจัยนำมาศึกษาต่อ ยังพบจุลินทรีย์ 2 สายพันธุ์ ที่โคตรพิเศษ
1. มันกลืนกินแบคทีเรียและไวรัสทุกชนิดในร่างกายมนุษย์ และ
2. คุณสมบัติควบคู่คือช่วยต้านทานโรคได้อีกด้วย
อ่านข้อมูลความรู้เพิ่มเติมได้ที่ https://www.xn--22c0ba2bj2d0c0abw.com/%e0%b8%9e%e0%b8%a5%e0%b8%b9%e0%b8%84%e0%b8%b2%e0%b8%a7/