หากเราทำงานพามไทม์ เราต้องทำประกันสังคมมาตราไหนกันแน่ครับ ระหว่างมาตรา 33 หรือ มาตรา 39 ครับ
ยกตัวอย่างกรณี ทำงานทุกวันจันทร์ ถึง พุธ หรือ ทำอาทิตย์ล่ะ2-3วัน แล้วแต่ตกลงกันกับนายจ้างว่าจะทำวันไหนบ้างในแต่ล่ะสัปดาห์ซึ่งไม่ตายตัว หรือ ทำงานแบบ มีงานก็ได้ทำไม่มีงานก็ไม่ได้ทำ
กรณีต่างๆเหล่านี้ คิดว่าน่าจะเรียนว่าเป็นการทำงานพาทไทม์ อยู่แล้ว แต่เวลาเข้าประกันสังคม เราต้องเข้ามาตราไหนกันแน่
เบื้องต้นโทรไปสอบถามกับทางประกันสังคม (สายด่วน1506) เจ้าหน้าที่บอกว่าต้องเข้ามาตรา 39 เพราะ มีงานก็ทำไม่มีงานก็ไม่ได้ทำ แต่ สำนักงานประกันสังคมประจำจังหวัดเจ้าหน้าที่บอกว่าต้องเข้ามาตรา 33 เพราะมีคำว่านายจ้างกับลูกจ้างเกิดขึ้นแล้ว ถึงแม้ว่า จะทำงานแค่วันเดียว แล้วจบกันก็ตาม
คำถามคือถ้าทำงานวันเดียวแล้วไม่ได้มาทำต่อ แล้วเข้ามาตร 33 แล้ว วันอื่นๆที่เรายังไม่ได้ทำงานไม่มีงานทำ ว่างงานล่ะ ประกันสังคมจะรับผิดชอบช่วยเหลือเรายังไงไหม เพราะเงินใช้จ่ายหรือรายรับก็ไม่มี
รบกวนคลายข้อสงสัยให้หน่อยครับ อยากทราบแนวคิดทั้งแบบเป็นตัวกฎหมาย กฎระเบียบ และ ตามหลักความเป็นจริง หลักที่ควรจะเป็นครับ
พนักงานพาทไทม์ ต้องเข้าประกันสังคมมาตรา 33 หรือ 39
ยกตัวอย่างกรณี ทำงานทุกวันจันทร์ ถึง พุธ หรือ ทำอาทิตย์ล่ะ2-3วัน แล้วแต่ตกลงกันกับนายจ้างว่าจะทำวันไหนบ้างในแต่ล่ะสัปดาห์ซึ่งไม่ตายตัว หรือ ทำงานแบบ มีงานก็ได้ทำไม่มีงานก็ไม่ได้ทำ
กรณีต่างๆเหล่านี้ คิดว่าน่าจะเรียนว่าเป็นการทำงานพาทไทม์ อยู่แล้ว แต่เวลาเข้าประกันสังคม เราต้องเข้ามาตราไหนกันแน่
เบื้องต้นโทรไปสอบถามกับทางประกันสังคม (สายด่วน1506) เจ้าหน้าที่บอกว่าต้องเข้ามาตรา 39 เพราะ มีงานก็ทำไม่มีงานก็ไม่ได้ทำ แต่ สำนักงานประกันสังคมประจำจังหวัดเจ้าหน้าที่บอกว่าต้องเข้ามาตรา 33 เพราะมีคำว่านายจ้างกับลูกจ้างเกิดขึ้นแล้ว ถึงแม้ว่า จะทำงานแค่วันเดียว แล้วจบกันก็ตาม
คำถามคือถ้าทำงานวันเดียวแล้วไม่ได้มาทำต่อ แล้วเข้ามาตร 33 แล้ว วันอื่นๆที่เรายังไม่ได้ทำงานไม่มีงานทำ ว่างงานล่ะ ประกันสังคมจะรับผิดชอบช่วยเหลือเรายังไงไหม เพราะเงินใช้จ่ายหรือรายรับก็ไม่มี
รบกวนคลายข้อสงสัยให้หน่อยครับ อยากทราบแนวคิดทั้งแบบเป็นตัวกฎหมาย กฎระเบียบ และ ตามหลักความเป็นจริง หลักที่ควรจะเป็นครับ