ศิลปะ-การเเต่งกายอยุธยามาจากไหนกันเเน่

ที่มาการเเต่งกายสยาม
https://images.app.goo.gl/5Kcuq1suFvcpn6go7
ภาพสลักสะพานนครธมพบอสูรมีการสลักคล้ายจรหูใส่
https://images.app.goo.gl/Nvgqc1qzM8qTKZHi7
ภาพสลักใบหน้าปราสาทบายนพบมีการสลักการใส่จรหู

ภาพสลักวัดศรีชุมสุโขทัยรับอิทธิพลศิลปะจากลังกาผสมขอมชัดเจน
(https://images.app.goo.gl/e3poyVeiMwvgt8ka8)

ปรากฏการสลักภาพคล้ายการใส่จรหู
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=53
จิตรกรรมกินรีเเบบลังกา

http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=10
ภาพตรีจามปานุ่งหน้านางเเบบขอมเเสดงให้เห็นชัดเจนว่าจามปารับศิลปะขอมไปใช้
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=66
(ยักษ์ทวาลบาลปราสาทบายน พบการสลักการใส่จรหู (พบศิลปะจามมีการนุ่งหน้านางชายสะบัดเเบบอยุธยาตอนปลายซึ่งน่าจะรับอิทธิพลศิลการเเต่กายเเบบขอม)http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=117

(ศิลปะจามรับศิลปะจากขอมชัดเจน)

http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=118
(การนุ่งผ้ามีชายพกออกมาเเบบขอมเหมือนศิลปะอยุธยาตอนกลางชัดเจน)
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=122
การใส่หน้านางเเบบชวาหรืออินโดนีเซียก็มี
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=77   
ปรากฏศิลปะขอมยุคปลายพระนครสตรีพนมมือนุ่งหน้านางเครื่องศิราภรณ์อยุธยาตอนต้นระยะปลายเเบบอิทธิพลสุโขทัย 
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=101
 ปรากฏศิลปะขอมยุคปลายพระนครสตรีพนมมือนุ่งหน้านาง
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=90 
ศิลปะขอมปรากฏการนุ่งหน้านาง ชายพก พัดคลี่
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=91 
การใส่เครื่องศิราภรณ์เเบบสุโขทัยซึ่งรับเเบบศิลปะเครื่องศิราภรณ์มาจากขอมตอนปลายเเละศิลปะจากลังกา
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=113 
การใส่ชฎาเเบบลังกาที่คล้ายอยุธยาเเต่อยุธยามีลายกระจังตาอ้อย
http://oknation.nationtv.tv/blog/phaen/2007/09/15/entry-1
การใส่ชฎาหรือศิราภรณ์เเบบอยุธยาตอนต้นเหมือนขอมตอนปลายชัดเจนซึ่งการเเต่งกายก็ค่อนข้างต่างจากสุโขทัย (ภาพเขียนวัดราชบูนณะ)
http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=121กับ http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=126การใส่ชฎาที่มีเกี้ยวเเบบอยุธยา อยุธยารับเเบบอิทธิพลจากลังกาโดนลดเกี้ยวลงให้เหลือ1ชั้น

จากการศึกษามาก็พบว่าการเเต่งกายสมัยอยุธยาตอนต้นเเต่งกายเเบบเดียวกับขอมตอนปลายซึ่งการเเต่งกายเเบบนุ่งหน้านางก็ปรากฏเเค่อยุธยา
พอมาถึงช่วงอยุธยาตอนกลางที่ว่าอิทธิพลสุโขทัยเเต่ด้านการเเต่งกายกลับไปคล้ายขอมตอนกลาง-ปลาย เช่นการนุ่งหน้านางชายสะบัดเป็นที่นิยมในหมู่ตรีอยุธยามากๆ ซึ่งการนุ่งผ้าเเบบนี้ปรากฏที่ภาพสลักตรีทวาลที่ปราสาทหมี่เซินของจามปารวมถึงการใส่กรรเจียกจรหูด้วยเเต่ลักษณะกรรเจียกค่อนข้างต่างจากอยุธยา
จึงสงสัยว่าทำไมความต่อเนื่องทางการเเต่งกายเเบบขอมตั้งเเต่ยุคต้นที่นุ่งหน้านางชายพกคลี่พัด หน้านางชายพกธรรมดา หน้านางชายพกหางไหล การเเต่งการของตรีชั้นสูงพวกนี้ถึงมาเจอเเค่อยุธยา
การชักชายผ้าเเบบศิลปะนครวัดก็มาเป็นที่นิยมในศิลปะอยุธยาตอนกลาง-ปลายซึ่งทางสุโขทัยก็ไม่ปรากฏการเเต่งกายเเบบนี้

"จะเห็นศิลปะอยุธยาตอนต้น เป็นเเบบศิลปะขอมตอนปลาย เช่นชฎาหรือ เครื่องศิราภรณ์
http://oknation.nationtv.tv/blog/voranai/2007/08/26/entry-1 
   ศิลปะอยุธยาตอนต้นมีลักษณะศิลปะเดียวกับขอมตอนปลายซึ่งปรากฏในภาพจิตรกรรมวัดราชบูรณะลักษณะการสวมเครื่องศิราภรณ์เเบบขอมตอนปลายชัดเจน ซึ่งมีหลักฐานปรากฏในด้านการเเต่งกายน้อยมาก
 http://www.thapra.lib.su.ac.th/supatlib/picture2.php?check=type&keyword=3&Page=101
 ปรากฏศิลปะขอมยุคปลายพระนครสตรีพนมมือนุ่งหน้านางซึ่งมีลักษณะเดียวกับการเเต่งกายอยุธยาตอนต้นชัดเจนเเต่ไม่ปรากฏการใส่จรหู" เเต่การนุ่งหน้านางชายสะบัดเเบบที่อยุธยาตอนกลาง-ปลายนิยมมากๆ กลับไม่ปรากฏในศิลปะเเบบบายนหรือศิลปะขอมเลย 
ทำไมความต่อเนื่องด้านการเเต่งกายเเบบขอมตอนปลาย พอเริ่มสมัยอยุธยา การเเต่งกายเเบบขอมตอนปลายถึงได้สืบต่อมาอยุธยาเเต่ไม่ปรากฏที่อื่นเลย ลาวก็เเต่งกายไปอีกเเบบ เขมรก็ไม่มีหลักฐานว่าเเต่งกายยังไง พม่าก็เเต่งกายไปอีกเเบบ ชวาก็เเต่งกายคล้ายๆอยุธยาอยู่
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่