มีข้อสงสัย 4ข้อ
1. ในข้อ(2) มีไว้เพื่ออะไร ดูเหมือนว่าจะเพื่อกรณีเจ้าบ่าว ติดธุระที่สำคัญมาไม่ได้ เพียงแค่แสดงความยินยอมไว้ก่อน เป็นลายลักษณ์อักษร ให้เจ้าสาวที่อยู่ต่อหน้านายทะเบียน เซ็นชื่อในใบทะเบียนสมรสไว้ก่อน แล้วเจ้าบ่าวเซ็นชื่อในใบทะเบียนสมรสในภายหลัง สามารถทำได้หรือไม่ ?
2. ใน(3) มีไว้เพื่ออะไร ดูเหมือนจะเป็นกรณีว่าเจ้าบ่าว กำลังป่วยหนัก หรือระหว่างเดินทางมาเจ้าบ่าวเจอเหตุการณ์บาดเจ็บสาหัส เลยใช้การพูดด้วยวาจาแสดงเจตนายินยอม ให้คนสองคนมาเป็นพยาน ยืนยันความยินยอมของเจ้าบ่าว มายืนยันแทนเจ้าบ่าวต่อหน้านายทะเบียน แล้วให้เจ้าสาว ลงลายเซ็นชื่อไปก่อน แล้วเจ้าบ่าวเซ็นในภายหลัง แบบนี้สามารถทำได้หรือไม่ ?
3. เพราะดูเหมือนจะเป็นข้อความใน(2)กับ(3) ที่คู่สมรส หรือเจ้าบ่าว เจ้าสาว จะมีเหตุผลกระทันหันมาอยู่ต่อหน้านายทะเบียนพร้อมหน้ากันไม่ได้ ในวันจดทะเบียนสมรส แล้วโดยอาศัยกฏหมายในมาตรา1455 ใน(2) หรือ(3) มาอ้างต่อนายทะเบียน แล้วการจดทะเบียนสมรสจะมีผลสมบูรณ์ หรือไม่ ?
4. ในมาตรา1455 (3) บอกชัดว่าถ้ามีเหตุจำเป็น ถ้าสมมุติว่าเจ้าบ่าวไม่ยอม แต่ญาติทางเจ้าบ่าวตั้งใจบังคับเจ้าบ่าวแต่งกับเจ้าสาวที่ไม่ชอบ แต่ชอบอีกคน แต่ทางญาติทั้งสองฝ่ายไม่สมามารถบังคับให้เจ้าบ่าวอยู่กับเจ้าสาวได้ ทำได้เพียงอ้างเหตุจำเป็นที่เจ้าบ่าวมาไม่ได้ แต่ยืนยันว่าเจ้าบ่าวยินยอม ทั้งที่เจ้าบ่าวไม่ยินยอม โดยอาศัยเพียงพยาน2คนมายืนยันความยินยอม กับเจ้าสาวที่ยินยอม ต่อหน้านายเบียนเพื่อจดทะเบียนสมรส แต่นายทะเบียนไม่รู้ความจริง แล้วการจดทะเบียนสมรสจะมีผลสมบูรณ์ หรือไม่ ?
สงสัยมากๆ เลยตั้งข้อสงสัย 1 2 3 4
ข้อสงสัยในมาตรา1455 ในเนื้อหา (2) กับ (3) มีไว้เพื่ออะไรครับ
มีข้อสงสัย 4ข้อ
1. ในข้อ(2) มีไว้เพื่ออะไร ดูเหมือนว่าจะเพื่อกรณีเจ้าบ่าว ติดธุระที่สำคัญมาไม่ได้ เพียงแค่แสดงความยินยอมไว้ก่อน เป็นลายลักษณ์อักษร ให้เจ้าสาวที่อยู่ต่อหน้านายทะเบียน เซ็นชื่อในใบทะเบียนสมรสไว้ก่อน แล้วเจ้าบ่าวเซ็นชื่อในใบทะเบียนสมรสในภายหลัง สามารถทำได้หรือไม่ ?
2. ใน(3) มีไว้เพื่ออะไร ดูเหมือนจะเป็นกรณีว่าเจ้าบ่าว กำลังป่วยหนัก หรือระหว่างเดินทางมาเจ้าบ่าวเจอเหตุการณ์บาดเจ็บสาหัส เลยใช้การพูดด้วยวาจาแสดงเจตนายินยอม ให้คนสองคนมาเป็นพยาน ยืนยันความยินยอมของเจ้าบ่าว มายืนยันแทนเจ้าบ่าวต่อหน้านายทะเบียน แล้วให้เจ้าสาว ลงลายเซ็นชื่อไปก่อน แล้วเจ้าบ่าวเซ็นในภายหลัง แบบนี้สามารถทำได้หรือไม่ ?
3. เพราะดูเหมือนจะเป็นข้อความใน(2)กับ(3) ที่คู่สมรส หรือเจ้าบ่าว เจ้าสาว จะมีเหตุผลกระทันหันมาอยู่ต่อหน้านายทะเบียนพร้อมหน้ากันไม่ได้ ในวันจดทะเบียนสมรส แล้วโดยอาศัยกฏหมายในมาตรา1455 ใน(2) หรือ(3) มาอ้างต่อนายทะเบียน แล้วการจดทะเบียนสมรสจะมีผลสมบูรณ์ หรือไม่ ?
4. ในมาตรา1455 (3) บอกชัดว่าถ้ามีเหตุจำเป็น ถ้าสมมุติว่าเจ้าบ่าวไม่ยอม แต่ญาติทางเจ้าบ่าวตั้งใจบังคับเจ้าบ่าวแต่งกับเจ้าสาวที่ไม่ชอบ แต่ชอบอีกคน แต่ทางญาติทั้งสองฝ่ายไม่สมามารถบังคับให้เจ้าบ่าวอยู่กับเจ้าสาวได้ ทำได้เพียงอ้างเหตุจำเป็นที่เจ้าบ่าวมาไม่ได้ แต่ยืนยันว่าเจ้าบ่าวยินยอม ทั้งที่เจ้าบ่าวไม่ยินยอม โดยอาศัยเพียงพยาน2คนมายืนยันความยินยอม กับเจ้าสาวที่ยินยอม ต่อหน้านายเบียนเพื่อจดทะเบียนสมรส แต่นายทะเบียนไม่รู้ความจริง แล้วการจดทะเบียนสมรสจะมีผลสมบูรณ์ หรือไม่ ?
สงสัยมากๆ เลยตั้งข้อสงสัย 1 2 3 4