คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
ตอนที่ก่อสร้าง BTS กทม. ไม่มีปัญญาลงทุน และไม่กล้าเสี่ยงลงทุน จึงเลือกใช้ระบบ “สัมปทาน” 30 ปีแทน
BTS เป็นบริษัทเอกชน จึงมองว่าการสร้างลอยฟ้าลดต้นทุนได้มาก
อีกอย่างหนึ่งคือ ตอนแรกยังไม่มีกฎหมายควบคุมการสร้างรถไฟฟ้าในเมือง
BTS ที่เป็นเอกชน จึงสามารถสร้างลอยฟ้าได้
พอถึงยุค MRT มีกฎว่าชั้นในต้องใต้ดินแล้ว จึงต้องจำเป็นต้องทำใต้ดิน
แต่กฎก็ไม่ได้กำหนดขอบเขตพื้นที่การทำใต้ดิน แค่ในใจกลางเมืองเท่านั้น
พอออกไปจรัญสนิทวงศ์ เพชรเกษม ติวานนท์ รัตนาธิเบศร์ก็ลอยฟ้าแล้ว
สายสีส้มเลยแยกลำสาลีไปก็ลอยฟ้าแล้ว
ซึ่งไม่แน่ในอนาคต
เมื่อ มีนบุรี บางแค จรัญสนิทวงศ์ ติวานนท์ รัตนาธิเบศร์ เกิดเจริญกลายเป็นเมืองใหญ่ขึ้นมา
ก็คงมีคนมาตั้งคำถามแบบนี้อีกเช่นเคย....
อ้าวก็เขาให้แค่ชั้นในตอนนี้ใต้ดิน ไม่ได้บอกว่า ขอบเขตของชั้นในมันกินพื้นที่ขนาดไหน เขาก็มีสิทธิ์ที่จะสร้างลอยฟ้า เมื่อเกินขอบเขตที่ไม่แน่นอนได้
ซึ่งมันแตกต่างจากต่างประเทศที่ เขามีขอบเขตใต้ดินกว้างขวาง
อย่างที่ญี่ปุ่น มีรถไฟฟ้าใต้ดิน Interchange เต็มเลยในใต้ดิน รถไฟฟ้าใต้ดินซ้อนกัน 2-3 ชั้นว่าไป
BTS เป็นบริษัทเอกชน จึงมองว่าการสร้างลอยฟ้าลดต้นทุนได้มาก
อีกอย่างหนึ่งคือ ตอนแรกยังไม่มีกฎหมายควบคุมการสร้างรถไฟฟ้าในเมือง
BTS ที่เป็นเอกชน จึงสามารถสร้างลอยฟ้าได้
พอถึงยุค MRT มีกฎว่าชั้นในต้องใต้ดินแล้ว จึงต้องจำเป็นต้องทำใต้ดิน
แต่กฎก็ไม่ได้กำหนดขอบเขตพื้นที่การทำใต้ดิน แค่ในใจกลางเมืองเท่านั้น
พอออกไปจรัญสนิทวงศ์ เพชรเกษม ติวานนท์ รัตนาธิเบศร์ก็ลอยฟ้าแล้ว
สายสีส้มเลยแยกลำสาลีไปก็ลอยฟ้าแล้ว
ซึ่งไม่แน่ในอนาคต
เมื่อ มีนบุรี บางแค จรัญสนิทวงศ์ ติวานนท์ รัตนาธิเบศร์ เกิดเจริญกลายเป็นเมืองใหญ่ขึ้นมา
ก็คงมีคนมาตั้งคำถามแบบนี้อีกเช่นเคย....
อ้าวก็เขาให้แค่ชั้นในตอนนี้ใต้ดิน ไม่ได้บอกว่า ขอบเขตของชั้นในมันกินพื้นที่ขนาดไหน เขาก็มีสิทธิ์ที่จะสร้างลอยฟ้า เมื่อเกินขอบเขตที่ไม่แน่นอนได้
ซึ่งมันแตกต่างจากต่างประเทศที่ เขามีขอบเขตใต้ดินกว้างขวาง
อย่างที่ญี่ปุ่น มีรถไฟฟ้าใต้ดิน Interchange เต็มเลยในใต้ดิน รถไฟฟ้าใต้ดินซ้อนกัน 2-3 ชั้นว่าไป
แสดงความคิดเห็น
แถว สยาม สุขุมวิทถ่ายรูปไม่สวยเลย รถไฟฟ้าบังวิวหมด ทำไมไม่ทำสวยๆลงใต้ดินแบบเส้นอโศก รัชดา?