พระพุทธเจ้าทรงเทศนาสอน 2 อย่าง คือสอนตามสมติ คือตามที่โลกนัดหมายกันเรียกขาน กับสอนตามปรมัตถ์ คือสอนตามความจริงอย่างยิ่ง
ตัวอย่างเช่น เมื่อเอ่ยถึงเรื่องบุคคล ถ้ากล่าวตามความจริงโดยสมติก็มีอยู่ เวลาสอนเพื่อให้คนทั่วไปรู้และเข้าใจ ก็ต้องใช้สานวนสมมติในทางโลก เรียก ว่าสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา
แต่เมื่อสอนให้รู้ซึ้งถึงสภาพความจริง เพื่อจะได้ไม่ติดไม่ยึดถือในเรื่องสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา ก็สอนความจริงโดยปรมัตถ์ คือสอนให้เห็นว่าสัตว์ บุคคล ตัวตน เป็นเพียงสิ่งสมมติตามโวหารโลก ประกอบขึ้นจากส่วนย่อย ต่าง ๆ ไม่ควรยึดถือเป็นจริงเป็นจัง
ที่มา:ธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี. (2550). อภิธรรม ๗ คัมภีร์ หน้า 2 - 3
https://th.m.wikipedia.org/wiki/กถาวัตถุอรรถกถา#cite_ref-9
ฟังธรรม
https://www.dhammahome.com/discuss
พระพุทธเจ้าสอนตามสมมติ และสอนตามปรมัตถ์
ตัวอย่างเช่น เมื่อเอ่ยถึงเรื่องบุคคล ถ้ากล่าวตามความจริงโดยสมติก็มีอยู่ เวลาสอนเพื่อให้คนทั่วไปรู้และเข้าใจ ก็ต้องใช้สานวนสมมติในทางโลก เรียก ว่าสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา
แต่เมื่อสอนให้รู้ซึ้งถึงสภาพความจริง เพื่อจะได้ไม่ติดไม่ยึดถือในเรื่องสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา ก็สอนความจริงโดยปรมัตถ์ คือสอนให้เห็นว่าสัตว์ บุคคล ตัวตน เป็นเพียงสิ่งสมมติตามโวหารโลก ประกอบขึ้นจากส่วนย่อย ต่าง ๆ ไม่ควรยึดถือเป็นจริงเป็นจัง
ที่มา:ธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี. (2550). อภิธรรม ๗ คัมภีร์ หน้า 2 - 3
https://th.m.wikipedia.org/wiki/กถาวัตถุอรรถกถา#cite_ref-9
ฟังธรรม https://www.dhammahome.com/discuss