..
ต่อไป ติดตั้ง เพิ่มไป ยิงใส่กองเรือข้าศึกที่ แล่นเข้ามาได้เลย
หากเราพัฒนาไปได้ถึง จุดนั้น กองเรือที่ 7 ของสหรัฐ
แล่นมา ยิงตัดเรือบรรทุกเครื่องบินสหรัฐ
ขาดสองท่อนได้เลย นะ
-------------
NAPA-1 ดาวเทียมทางทหารดวงแรกของไทยเรา
พร้อมขึ้นสู่อวกาศแล้ว
วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน 2563 เวลา 8 นาฬิกา 51 นาที 10 วินาที (UTC+7)
กำหนดการปล่อยดาวเทียม NAPA-1 ดาวเทียมทางทหารดวงแรกของไทย และของอาเซียน
NAPA-1 เป็นดาวเทียมสำรวจพื้นโลกแบบแรกของกองอากาศไทย และของไทยที่ใช้ในภารกิจเพื่อทางการทหาร และภารกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการประสานกับหน่วยงานต่างๆเพื่อใช้สำหรับภารกิจในด้านการเบาทรรสาธารณะภัย อันเป็นหน้าที่สำคัญของกองทัพอากาศ
ภายใต้การผลิต ออกแบบและพัฒนาโดยทีม ISISPACE (Innovative Solutions In Space)
NAPA-1 เป็นดาวเทียมแบบ Nana-Satellite ขนาด 6U ที่ติดตั้งอุปกรณ์หลักคือ
- Gecko Imager จากบริษัท SCS แอฟริกาใต้ มาพร้อมกับควาสามารถในการถ่ายภาพในช่วงคลื่น RGB-Band ขนาดภาพ 39 เมตร จากวงโครจรระดับ Low Earth Orbit
และในส่วนของอุปกรณ์รองคือ
- TriScape 100 Imager พัฒนาโดย Simera Senese สำหรัถ่ายภาพระยะแคบ ขนาดภาพ 5 เมตร จากวงโคจรระดับ Low Earth Orbit
ซึ่งด้วยประสิทธิภาพของกล้องทั้ง 2 ตัวจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบเฝ้าระวังและสังเกตการณ์ของกองทัพอากาศในส่วนชอง Space Domain นั้นมีส่วนเข้ามาช่วยในการปฏิบัติการของกองทัพอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยฌฉพาะภาพขนาด 5 เมตร นั้นจากเดิมที่ต้องรอภาพจาก GISTDA ที่ใช้ดาวเทียมไทยโชติ(THEOS) หรือภาพจากดาวเทียมสำรวจภาคพื้นดวงอื่นที่ทาง GISTDA ทำข้อตกลงในการใช้เครือข่ายดาวเทียมร่วมกันไว้ ซึ่งต้องรอการส่งข้อมูลข้ามหน่วยงาน มีโอกาสทำให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติภารกิจ
ดังนั้นการส่งดาวเทียมขนาดเล็กที่ใช้เพียง NanaSat แบบ 6U ที่มีค่าใช้จ่ายในการสร้างรวมไปถึงต้นทุนในการส่งขึ้นสู่วงโคจรที่ต่ำมากกว่าการส่งดาวเทียมในสมัยก่อนนั้น จึงเป็นทางเลือกในการดำเนินงานอย่างเหมาะสม และคุ้มค่าต่องบประมาณที่ใช้ไปอย่างมาก
โดยขั้นตอนการปล่อยนั้น ISISPACE จะทำการปล่อย
ดาวเทียม NAPA-1 ด้วยจรวด Vaga SLV ณ ฐานปล่อยจรวดในเมือง Kourou, French Guyana ประเทศฝรั่งเศษ ด้วยโมดูลสำหรับการปล่อยดาวเทียมแบบใหม่
อย่าง Small Satellites Mission Service Proof of Concept (SSMS POC) ซึ่งเป็นโมดูลสำหรับปล่อยดาวเทียมตั้งแต่ Cubesat ขนาดเล็กที่มีนำหนักรวมตั้งแต่ 1 กิโลกรัม ไปจนถึง MiniSat น้ำหนักรวม 400 กิโลกรัม
ที่แม้ว่าจะมีลักษณะที่แตกต่างกันหรือน้ำหนักไม่เท่ากันก็ตาม ด้วยคอนเซป "rideshare"
ซึ่งดาวเทียมที่จะทำการปล่อยร่วมกับ NAPA-1 ในครั้งนี้ด้วยโมดูล SSMS POC ของจรวด Vega SLV ในครั้งนี้รวม 57 ดวงประกอบด้วย Athena, ION CubeSat Carrier, ESAIL, UPMSat 2, NEMO-HD, ÑuSat 6, GHGSat C1, Flock-4v 1- 26, Lemur-2 112-119, SpaceBEE 10-21, FSSCat A, B, TARS, Tyvak 0171, OSM 1 CICERO, DIDO 3, PICASSO, SIMBA, TRISAT, AMICal-Sat, TTÜ100
ดาวเทียม NAPA-1 จะมีวงโคจรอยู่ในระบบ LEO
ดาวเทียมนภา 1 ของกองทัพอากาศ และประเทศไทย เตรียมปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศแล้ว ต่อไปเราดูข้าศึกได้หมด ติดเลเซอร์ยิงใส่ข้าศึก
ต่อไป ติดตั้ง เพิ่มไป ยิงใส่กองเรือข้าศึกที่ แล่นเข้ามาได้เลย
หากเราพัฒนาไปได้ถึง จุดนั้น กองเรือที่ 7 ของสหรัฐ
แล่นมา ยิงตัดเรือบรรทุกเครื่องบินสหรัฐ
ขาดสองท่อนได้เลย นะ
-------------
NAPA-1 ดาวเทียมทางทหารดวงแรกของไทยเรา
พร้อมขึ้นสู่อวกาศแล้ว
วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน 2563 เวลา 8 นาฬิกา 51 นาที 10 วินาที (UTC+7)
กำหนดการปล่อยดาวเทียม NAPA-1 ดาวเทียมทางทหารดวงแรกของไทย และของอาเซียน
NAPA-1 เป็นดาวเทียมสำรวจพื้นโลกแบบแรกของกองอากาศไทย และของไทยที่ใช้ในภารกิจเพื่อทางการทหาร และภารกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการประสานกับหน่วยงานต่างๆเพื่อใช้สำหรับภารกิจในด้านการเบาทรรสาธารณะภัย อันเป็นหน้าที่สำคัญของกองทัพอากาศ
ภายใต้การผลิต ออกแบบและพัฒนาโดยทีม ISISPACE (Innovative Solutions In Space)
NAPA-1 เป็นดาวเทียมแบบ Nana-Satellite ขนาด 6U ที่ติดตั้งอุปกรณ์หลักคือ
- Gecko Imager จากบริษัท SCS แอฟริกาใต้ มาพร้อมกับควาสามารถในการถ่ายภาพในช่วงคลื่น RGB-Band ขนาดภาพ 39 เมตร จากวงโครจรระดับ Low Earth Orbit
และในส่วนของอุปกรณ์รองคือ
- TriScape 100 Imager พัฒนาโดย Simera Senese สำหรัถ่ายภาพระยะแคบ ขนาดภาพ 5 เมตร จากวงโคจรระดับ Low Earth Orbit
ซึ่งด้วยประสิทธิภาพของกล้องทั้ง 2 ตัวจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบเฝ้าระวังและสังเกตการณ์ของกองทัพอากาศในส่วนชอง Space Domain นั้นมีส่วนเข้ามาช่วยในการปฏิบัติการของกองทัพอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยฌฉพาะภาพขนาด 5 เมตร นั้นจากเดิมที่ต้องรอภาพจาก GISTDA ที่ใช้ดาวเทียมไทยโชติ(THEOS) หรือภาพจากดาวเทียมสำรวจภาคพื้นดวงอื่นที่ทาง GISTDA ทำข้อตกลงในการใช้เครือข่ายดาวเทียมร่วมกันไว้ ซึ่งต้องรอการส่งข้อมูลข้ามหน่วยงาน มีโอกาสทำให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติภารกิจ
ดังนั้นการส่งดาวเทียมขนาดเล็กที่ใช้เพียง NanaSat แบบ 6U ที่มีค่าใช้จ่ายในการสร้างรวมไปถึงต้นทุนในการส่งขึ้นสู่วงโคจรที่ต่ำมากกว่าการส่งดาวเทียมในสมัยก่อนนั้น จึงเป็นทางเลือกในการดำเนินงานอย่างเหมาะสม และคุ้มค่าต่องบประมาณที่ใช้ไปอย่างมาก
โดยขั้นตอนการปล่อยนั้น ISISPACE จะทำการปล่อย
ดาวเทียม NAPA-1 ด้วยจรวด Vaga SLV ณ ฐานปล่อยจรวดในเมือง Kourou, French Guyana ประเทศฝรั่งเศษ ด้วยโมดูลสำหรับการปล่อยดาวเทียมแบบใหม่
อย่าง Small Satellites Mission Service Proof of Concept (SSMS POC) ซึ่งเป็นโมดูลสำหรับปล่อยดาวเทียมตั้งแต่ Cubesat ขนาดเล็กที่มีนำหนักรวมตั้งแต่ 1 กิโลกรัม ไปจนถึง MiniSat น้ำหนักรวม 400 กิโลกรัม
ที่แม้ว่าจะมีลักษณะที่แตกต่างกันหรือน้ำหนักไม่เท่ากันก็ตาม ด้วยคอนเซป "rideshare"
ซึ่งดาวเทียมที่จะทำการปล่อยร่วมกับ NAPA-1 ในครั้งนี้ด้วยโมดูล SSMS POC ของจรวด Vega SLV ในครั้งนี้รวม 57 ดวงประกอบด้วย Athena, ION CubeSat Carrier, ESAIL, UPMSat 2, NEMO-HD, ÑuSat 6, GHGSat C1, Flock-4v 1- 26, Lemur-2 112-119, SpaceBEE 10-21, FSSCat A, B, TARS, Tyvak 0171, OSM 1 CICERO, DIDO 3, PICASSO, SIMBA, TRISAT, AMICal-Sat, TTÜ100
ดาวเทียม NAPA-1 จะมีวงโคจรอยู่ในระบบ LEO