==แก้ไข: เพิ่มเติม==
วันนี้ 23 สิงหาคม 2564
มีข่าวจาก Thai PBS
ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2564
https://news.thaipbs.or.th/content/307200?utm_source=LINE&utm_medium=News&utm_campaign=Pushmsg&utm_content=content307200
สรุปว่า ที่ผ่านมาหลายปี
ข้อสอบ
ออกเกินกว่าหลักสูตรอย่างมาก เพราะเนื้อหาในข่าว
ชี้ชัดว่า จะออกข้อสอบแนวใหม่ โดยเน้นเนื้อหาในหลักสูตรที่เรียนเป็นหลัก เพื่อให้นักเรียนไม่ต้องไปเรียนกวดวิชา
ดังนั้นแล้ว
ผมเข้าใจถูกแต่แรก
ว่าข้อสอบออกเกินหลักสูตรชัดเจน ทำให้ต้องไปเรียนกวดวิชา.
===
1) ความรู้ที่ต้องใช้ในการทำข้อสอบ เข้ามหาวิทยาลัย เกินหลักสูตรที่เรียน กี่% (โดยประมาณ)
(และนั่นคือ ข้อสอบเข้าคณะใด ของ ม.ใดเอ่ย)?
2) เมื่อข้อสอบออกเกินหลักสูตรในโรงเรียน, นักเรียนจึงต้องไปเรียนพิเศษ / ต้องหา
ตำรา ของมหาวิทยาลัยมาศึกษาใช่หรือไม่?
ไม่ทำดีต่อชาติไทย ฤาจะให้ใครทำ?
======
ไอเดียอื่นของผม ดังข้างล่าง เกิดจาก การชม คลิปนี้:
https://youtu.be/BEp4fWaZdu0
ดังข้างล่าง ซึ่งผมไม่ทราบว่า ท่านใด จัดทำขึ้น แต่ขอขอบคุณอย่างยิ่ง ที่สละเวลา เพราะ ให้ประโยชน์
ต่อชาติไทยได้มาก.
ซึ่งจัดทำจาก คลิปเริ่มต้นของ Prince Ea:
https://youtu.be/dqTTojTija8
ท่านสามารถติดตาม Prince Ea's YouTube Channel ได้ -- ผมว่าเขาเก่ง และมีความคิดที่ดี.
====
ความคิดของ Prince Ea และ ของผม ปนกัน:
การศึกษาผิดพลาด ที่ต้องการให้เด็กทุกคนเหมือนกัน, ต้องเก่งแบบเดียวกัน, ปิดกั้นความคิด.
ผู้ไม่เคยสอน ได้เป็นผู้กำหนดการสอน.
การศึกษาให้ความสำคัญต่อแบบทดสอบ มากกว่าเด็กมาก กระทั่ง ทำลายเอกลักษณ์ของเด็ก. ทำลายความคิดสร้างสรรค์, ทำให้เด็กหลายคน กลายเป็นคนโง่ และไร้ค่า. ทั้งที่ การศึกษา และโรงเรียน ควรนำไปสู่การค้นพบพรสวรรค์ / ความถนัดของเด็ก และเปิดโอกาส ให้เด็กได้เข้าใจ และได้เลือกแนวทางของพวกเขา ตามความถนัด, ความสนใจ และพรสวรรค์. ครอบครัวรู้ว่า ลูก / หลาน 2 คน หรือ มากกว่า ไม่เหมือนกัน แต่การศึกษากลับปักหลัก แนวทางว่า ทุกคนต้องเหมือนกัน. แพทย์ยังรักษาคนป่วยเหมือนกัน ต่างกันได้. การศึกษาควรเปิดโอกาสให้ เด็กได้เรียนรู้ เก่ง ชอบ ในแนวที่ต่างกันได้.
ครูมีความสำคัญมาก แต่กลับมีรายได้ที่ต่ำมากเกินไป ไม่ดึงดูดคนเก่ง และทุ่มเท.
ครูไม่ใช่ปัญหา แต่ไม่สามารถทำสิ่งที่ต่าง เพราะระบบการศึกษากำหนดแทบทุกอย่าง ที่ออกแบบจากกระทรวง โดยคนที่ไม่ได้เป็นผู้สอน ไม่ได้เป็นผู้ถูกประเมิน ไม่ได้เป็นผู้เรียน ที่หมกมุ่น ต่อผลการสอบวัดผล และดึงทุกคน และเด็กทุกคน ตามความคิดของพวกเขา.
ครูควรได้เป็นกำลังใจ และคอยแนะนำ ได้ดึงจิตวิญญาณของเด็กให้ออกมา ตามศักยภาพ. การสร้างแรงบันดาลใจ ให้เด็กเป็นสิ่งสำคัญ ให้รู้ว่า เด็กชอบ และถนัด อะไรบ้าง.
การศึกษาควรปรับแต่งได้ ให้เหมาะกับเอกลักษณ์ของเด็กแต่ละคน โดยไม่มุ่งผลการสอบเป็นหลักมากเกินไป กระทั่งทำร้าย ความมั่นใจ ความคิด จิตใจ พรสวรรค์ ความถนัดของเด็กแต่ละคน.
เลขสำคัญ แต่ไม่ควรสำคัญไปกว่า ศิลปะ.
การศึกษาของ Finland ดีที่สุดในโลก, ครูมีรายได้มาก. Singapore ก็เก่งมาก.
เด็กอาจเป็น 20% ของประชากรทั้งประเทศ แต่เป็น 100% ของอนาคตของชาติ; พวกเขาต้องได้รู้ ได้เก่ง ได้เลือก ได้ถนัด ในสิ่งที่พวกเขาควรได้. ปลายังไม่ถูกบังคับให้ปีนต้นไม้. เด็กทุกคน ไม่จำเป็นต้องเก่งเลข.
การศึกษาไทยก็ตามก้นฝรั่ง ที่ไม่ใช่ Finland และผู้ออกข้อสอบ ไม่ได้เป็นผู้สอน และออกข้อสอบเกินหลักสูตร และนี่คือ สิ่งบ่งชี้ชัดมากว่า การศึกษาไม่เท่าเทียม โดยคนจนมีโอกาสต่ำกว่า.. พวกคุณต้องการให้เขาเป็นอาชญากร ที่ปล้น และก่ออาชญากรรมต่อคนรวยรึ? แล้วปล่อยให้เป็นปัญหาสังคม และประเทศ ทั้งที่ควรแก้ไข ตั้งแต่ พวกเขาเริ่มต้นเรียน.
ออกแบบทดสอบ เกินหลักสูตร เพื่อเหตุผลดีใด? ในเมื่อ การสอบใบขับขี่ ยังไม่ต้องใช้ความรู้ด้านเกษตร หรือ การแพทย์เลย? แล้ว เอาสิ่งที่เด็กไม่ได้เรียน มาออกข้อสอบ? ผิดชัดๆ แต่ไม่มีใครบ่น. เป็นเหตุผลที่ดีไหม หากผมฟ้อง ก.ศึกษาฯ ต่อศาลปกครอง?
เหตุใดไทย ไม่สร้างความพร้อม ในอาชีพให้คนจน ที่ไม่มีเงินส่งลูกไปเรียนพิเศษ, ไม่มีความพร้อม ให้ลูกไปสอบในหลายสนามสอบ เหมือนคนชนชั้นกลาง?
เหตุใด รัฐ / โรงเรียน ไม่จัดความพร้อม ให้เด็กขนบท ได้เรียน ร้องเพลง, ดนตรี, กีฬา (เช่น กอล์ฟ เพื่อยึดอาชีพสอนกอล์ฟ หรือเป็นนักกอล์ฟอาชีพ เหมือนเกาหลีใต้), ศิลปะ, ภาษา อย่างเต็มที่. ทั้งที่ พวกเขา ต่อไป จะได้ยึดเป็ฯอาชีพ จะได้ช่วยเสียภาษีให้รัฐ ช่วยกันสร้างประเทศ และลดอาชญากรรม และทำให้ประเทศนี้ ปลอดภัยต่อทุกชนชั้น โดยกระเป๋าเงินหาย ก็ได้คืน.
กี่ % ที่ข้อสอบเ่ข้า มหาวิทยาลัย ออกเกินหลักสูตรในโรงเรียน? ควร?
วันนี้ 23 สิงหาคม 2564
มีข่าวจาก Thai PBS
ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2564
https://news.thaipbs.or.th/content/307200?utm_source=LINE&utm_medium=News&utm_campaign=Pushmsg&utm_content=content307200
สรุปว่า ที่ผ่านมาหลายปี
ข้อสอบ
ออกเกินกว่าหลักสูตรอย่างมาก เพราะเนื้อหาในข่าว
ชี้ชัดว่า จะออกข้อสอบแนวใหม่ โดยเน้นเนื้อหาในหลักสูตรที่เรียนเป็นหลัก เพื่อให้นักเรียนไม่ต้องไปเรียนกวดวิชา
ดังนั้นแล้ว
ผมเข้าใจถูกแต่แรก
ว่าข้อสอบออกเกินหลักสูตรชัดเจน ทำให้ต้องไปเรียนกวดวิชา.
===
1) ความรู้ที่ต้องใช้ในการทำข้อสอบ เข้ามหาวิทยาลัย เกินหลักสูตรที่เรียน กี่% (โดยประมาณ)
(และนั่นคือ ข้อสอบเข้าคณะใด ของ ม.ใดเอ่ย)?
2) เมื่อข้อสอบออกเกินหลักสูตรในโรงเรียน, นักเรียนจึงต้องไปเรียนพิเศษ / ต้องหา
ตำรา ของมหาวิทยาลัยมาศึกษาใช่หรือไม่?
ไม่ทำดีต่อชาติไทย ฤาจะให้ใครทำ?
======
ไอเดียอื่นของผม ดังข้างล่าง เกิดจาก การชม คลิปนี้: https://youtu.be/BEp4fWaZdu0
ดังข้างล่าง ซึ่งผมไม่ทราบว่า ท่านใด จัดทำขึ้น แต่ขอขอบคุณอย่างยิ่ง ที่สละเวลา เพราะ ให้ประโยชน์
ต่อชาติไทยได้มาก.
ซึ่งจัดทำจาก คลิปเริ่มต้นของ Prince Ea: https://youtu.be/dqTTojTija8
ท่านสามารถติดตาม Prince Ea's YouTube Channel ได้ -- ผมว่าเขาเก่ง และมีความคิดที่ดี.
====
ความคิดของ Prince Ea และ ของผม ปนกัน:
การศึกษาผิดพลาด ที่ต้องการให้เด็กทุกคนเหมือนกัน, ต้องเก่งแบบเดียวกัน, ปิดกั้นความคิด.
ผู้ไม่เคยสอน ได้เป็นผู้กำหนดการสอน.
การศึกษาให้ความสำคัญต่อแบบทดสอบ มากกว่าเด็กมาก กระทั่ง ทำลายเอกลักษณ์ของเด็ก. ทำลายความคิดสร้างสรรค์, ทำให้เด็กหลายคน กลายเป็นคนโง่ และไร้ค่า. ทั้งที่ การศึกษา และโรงเรียน ควรนำไปสู่การค้นพบพรสวรรค์ / ความถนัดของเด็ก และเปิดโอกาส ให้เด็กได้เข้าใจ และได้เลือกแนวทางของพวกเขา ตามความถนัด, ความสนใจ และพรสวรรค์. ครอบครัวรู้ว่า ลูก / หลาน 2 คน หรือ มากกว่า ไม่เหมือนกัน แต่การศึกษากลับปักหลัก แนวทางว่า ทุกคนต้องเหมือนกัน. แพทย์ยังรักษาคนป่วยเหมือนกัน ต่างกันได้. การศึกษาควรเปิดโอกาสให้ เด็กได้เรียนรู้ เก่ง ชอบ ในแนวที่ต่างกันได้.
ครูมีความสำคัญมาก แต่กลับมีรายได้ที่ต่ำมากเกินไป ไม่ดึงดูดคนเก่ง และทุ่มเท.
ครูไม่ใช่ปัญหา แต่ไม่สามารถทำสิ่งที่ต่าง เพราะระบบการศึกษากำหนดแทบทุกอย่าง ที่ออกแบบจากกระทรวง โดยคนที่ไม่ได้เป็นผู้สอน ไม่ได้เป็นผู้ถูกประเมิน ไม่ได้เป็นผู้เรียน ที่หมกมุ่น ต่อผลการสอบวัดผล และดึงทุกคน และเด็กทุกคน ตามความคิดของพวกเขา.
ครูควรได้เป็นกำลังใจ และคอยแนะนำ ได้ดึงจิตวิญญาณของเด็กให้ออกมา ตามศักยภาพ. การสร้างแรงบันดาลใจ ให้เด็กเป็นสิ่งสำคัญ ให้รู้ว่า เด็กชอบ และถนัด อะไรบ้าง.
การศึกษาควรปรับแต่งได้ ให้เหมาะกับเอกลักษณ์ของเด็กแต่ละคน โดยไม่มุ่งผลการสอบเป็นหลักมากเกินไป กระทั่งทำร้าย ความมั่นใจ ความคิด จิตใจ พรสวรรค์ ความถนัดของเด็กแต่ละคน.
เลขสำคัญ แต่ไม่ควรสำคัญไปกว่า ศิลปะ.
การศึกษาของ Finland ดีที่สุดในโลก, ครูมีรายได้มาก. Singapore ก็เก่งมาก.
เด็กอาจเป็น 20% ของประชากรทั้งประเทศ แต่เป็น 100% ของอนาคตของชาติ; พวกเขาต้องได้รู้ ได้เก่ง ได้เลือก ได้ถนัด ในสิ่งที่พวกเขาควรได้. ปลายังไม่ถูกบังคับให้ปีนต้นไม้. เด็กทุกคน ไม่จำเป็นต้องเก่งเลข.
การศึกษาไทยก็ตามก้นฝรั่ง ที่ไม่ใช่ Finland และผู้ออกข้อสอบ ไม่ได้เป็นผู้สอน และออกข้อสอบเกินหลักสูตร และนี่คือ สิ่งบ่งชี้ชัดมากว่า การศึกษาไม่เท่าเทียม โดยคนจนมีโอกาสต่ำกว่า.. พวกคุณต้องการให้เขาเป็นอาชญากร ที่ปล้น และก่ออาชญากรรมต่อคนรวยรึ? แล้วปล่อยให้เป็นปัญหาสังคม และประเทศ ทั้งที่ควรแก้ไข ตั้งแต่ พวกเขาเริ่มต้นเรียน.
ออกแบบทดสอบ เกินหลักสูตร เพื่อเหตุผลดีใด? ในเมื่อ การสอบใบขับขี่ ยังไม่ต้องใช้ความรู้ด้านเกษตร หรือ การแพทย์เลย? แล้ว เอาสิ่งที่เด็กไม่ได้เรียน มาออกข้อสอบ? ผิดชัดๆ แต่ไม่มีใครบ่น. เป็นเหตุผลที่ดีไหม หากผมฟ้อง ก.ศึกษาฯ ต่อศาลปกครอง?
เหตุใดไทย ไม่สร้างความพร้อม ในอาชีพให้คนจน ที่ไม่มีเงินส่งลูกไปเรียนพิเศษ, ไม่มีความพร้อม ให้ลูกไปสอบในหลายสนามสอบ เหมือนคนชนชั้นกลาง?
เหตุใด รัฐ / โรงเรียน ไม่จัดความพร้อม ให้เด็กขนบท ได้เรียน ร้องเพลง, ดนตรี, กีฬา (เช่น กอล์ฟ เพื่อยึดอาชีพสอนกอล์ฟ หรือเป็นนักกอล์ฟอาชีพ เหมือนเกาหลีใต้), ศิลปะ, ภาษา อย่างเต็มที่. ทั้งที่ พวกเขา ต่อไป จะได้ยึดเป็ฯอาชีพ จะได้ช่วยเสียภาษีให้รัฐ ช่วยกันสร้างประเทศ และลดอาชญากรรม และทำให้ประเทศนี้ ปลอดภัยต่อทุกชนชั้น โดยกระเป๋าเงินหาย ก็ได้คืน.