4 Steps สู่การเป็นนักวางแผนการเงิน CFP
หลายปีที่ผ่านมานี้หลายคนอาจคุ้นเคยกับคุณวุฒิวิชาชีพนักวางแผนการเงิน CFP กันเป็นอย่างดีแล้ว แต่บางคนยังอาจสงสัยว่าทำไมจึงควรไว้วางใจให้นักวางแผนการเงิน CFP รับผิดชอบสร้างฝันในชีวิตให้เป็นความจริง ศูนย์อบรม ThaiPFA จะมาเฉลยให้ทราบว่าสาเหตุที่เราควรไว้วางใจนักวางแผนการเงิน CFP นั่นเพราะว่ามีบันได 4 ขั้นที่จะช่วยบ่มเพาะให้เราเชื่อได้ว่า นักวางแผนการเงินคุณวุฒิวิชาชีพ CFP จะสามารถวางแผนการเงินได้อย่างมีความรู้ความสามารถและวางแผนการเงินเพื่อลูกค้า/ผู้รับคำปรึกษา
4 Steps ตามเกณฑ์การรับรองคุณวุฒิวิชาชีพที่สมาคมนักวางแผนการเงินไทย กำหนดไว้สำหรับผู้ที่ต้องการจะเป็นนักวางแผนการเงิน CFP มีรายละเอียดดังนี้
• การศึกษา (Education)
นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องมีความรู้ด้านการวางแผนการเงินในทุกมิติที่เกี่ยวข้อง โดยต้องเข้ารับการอบรมความรู้ 6 ชุดวิชา ได้แก่ พื้นฐานการวางแผนการเงินฯ การวางแผนการลงทุน การวางแผนการประกัน การวางแผนวัยเกษียณ การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน ทั้งนี้ผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรมสามารถติดตามรายละเอียดการอบรมได้ที่หลักสูตรการวางแผนการเงิน CERTIFIED FINANCIAL PLANNER แบ่งเนื้อหาการเรียนรู้เป็น 6 ชุดวิชา ได้แก่
ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ (Foundation of Financial & Tax Planning)
ชุดวิชาที่ 2 การวางแผนการลงทุน (Investment Planning)
ชุดวิชาที่ 3 การวางแผนการประกันภัย (Insurance Planning)
ชุดวิชาที่ 4 การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ (Retirement Planning)
ชุดวิชาที่ 5 การวางแผนภาษีและมรดก (Tax and Estate Planning)
ชุดวิชาที่ 6 การจัดทำแผนการเงิน (Financial Plan Construction)
• การสอบ (Examination)
นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องผ่านการสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP เพื่อประเมินความสามารถในการนำความรู้ และทักษะจากการอบรมไปประยุกต์ใช้สำหรับการวางแผนการเงิน การสอบ จะแบ่งออกเป็น 4 ฉบับดังนี้
ฉบับที่ 1 พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ
ฉบับที่ 2 การวางแผนการลงทุน
ฉบับที่ 3 การวางแผนประกันภัย และการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ
ฉบับที่ 4.1 การวางแผนภาษี และมรดก
ฉบับที่ 4.2 การจัดทำแผนการเงิน
(***การสอบฉบับที่ 1 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 1 )
(***การสอบฉบับที่ 2 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 1 และ ชุดวิชาที่ 2)
(***การสอบฉบับที่ 3 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 1 ,ชุดวิชาที่ 3 และ ชุดวิชาที่ 4)
(***การสอบฉบับที่ 4.1 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 5 และสอบผ่านหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ฉบับที่ 1,2,3 )
(***การสอบฉบับที่ 4.1 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 6 และสอบผ่านหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ฉบับที่ 1,2,3)
• ประสบการณ์การทำงาน (Experience)
สมาคมฯ กำหนดให้นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการวางแผนการเงินแก่ลูกค้า เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ และความสามารถในเชิงปฏิบัติ มีประสบการณ์การทำงาน 3 ปี การปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนการเงิน ที่สามารถนับเป็นประสบการณ์การทำงานได้ เช่น
หน่วยงาน
ธนาคารพาณิชย์
สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์
บริษัทหลักทรัพย์
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน
ตำแหน่งงาน
นักวางแผนการเงิน
ผู้จัดการกองทุน
นักวิเคราะห์
วาณิชธนกิจ/ธนบดีธนกิจ (IB)
ผู้แนะนำการลงทุน
เจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์การเงินและการลงทุน
ผู้บรรยาย หรือเจ้าหน้าที่ฝึกอบรมด้านการเงินและการลงทุน และด้านการกำกับและตรวจสอบ
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
ผู้จัดการกองทุน
เจ้าหน้าที่สมาชิกสัมพันธ์
สำนักงานประกันสังคม
เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารการลงทุน
หน่วยงานกำกับดูแล
เจ้าหน้าที่หน่วยงานกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพ
บริษัทประกันชีวิต
เจ้าหน้าที่บริหารการลงทุน
นักคณิตศาสตร์ประกันชีวิต
ผู้พิจารณารับประกัน (Underwriter) และสินไหมประกันชีวิต
เจ้าหน้าที่กำกับและตรวจสอบ
ตัวแทนขาย
เจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์กรมธรรม์
ผู้บรรยายด้านประกันชีวิต
อื่นๆ ตามที่สมาคมฯ ให้ความเห็นชอบ
รายละเอียดเกณฑ์การนับประสบการณ์การทำงาน
http://www.tfpa.or.th/cfp.php?id=19
• จรรยาบรรณ (Ethics)
นักวางแผนการเงิน CFP และผู้สมัครขอรับรองคุณวุฒิวิชาชีพนักวางแผนการเงิน CFP (“ผู้สมัคร”) จะต้องปฏิบัติตามประมวลจรรยาบรรณและความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพวางแผนการเงินเพื่อให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุด รวมทั้งได้รับความเชื่อมั่นและความไว้วางใจจากลูกค้า
หมายเหตุ ในข้อกำหนดที่ทางสมาคมฯ กำหนด คือข้อกำหนดที่จะต้องเตรียมให้พร้อมในการขึ้นทะเบียน เป็นนักวางแผนการเงิน CFP ในส่วนของการอบรมและการสอบ ไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์มาก่อน ถึงจะเรียน และสอบได้
ข้อมูลจาก
www.thaipfa.co.th
[CR] 4 STEPS สู่การเป็นนักวางแผนการเงิน CFP (มาตรฐานสากล)
4 Steps ตามเกณฑ์การรับรองคุณวุฒิวิชาชีพที่สมาคมนักวางแผนการเงินไทย กำหนดไว้สำหรับผู้ที่ต้องการจะเป็นนักวางแผนการเงิน CFP มีรายละเอียดดังนี้
• การศึกษา (Education)
นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องมีความรู้ด้านการวางแผนการเงินในทุกมิติที่เกี่ยวข้อง โดยต้องเข้ารับการอบรมความรู้ 6 ชุดวิชา ได้แก่ พื้นฐานการวางแผนการเงินฯ การวางแผนการลงทุน การวางแผนการประกัน การวางแผนวัยเกษียณ การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน ทั้งนี้ผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรมสามารถติดตามรายละเอียดการอบรมได้ที่หลักสูตรการวางแผนการเงิน CERTIFIED FINANCIAL PLANNER แบ่งเนื้อหาการเรียนรู้เป็น 6 ชุดวิชา ได้แก่
ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ (Foundation of Financial & Tax Planning)
ชุดวิชาที่ 2 การวางแผนการลงทุน (Investment Planning)
ชุดวิชาที่ 3 การวางแผนการประกันภัย (Insurance Planning)
ชุดวิชาที่ 4 การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ (Retirement Planning)
ชุดวิชาที่ 5 การวางแผนภาษีและมรดก (Tax and Estate Planning)
ชุดวิชาที่ 6 การจัดทำแผนการเงิน (Financial Plan Construction)
• การสอบ (Examination)
นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องผ่านการสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP เพื่อประเมินความสามารถในการนำความรู้ และทักษะจากการอบรมไปประยุกต์ใช้สำหรับการวางแผนการเงิน การสอบ จะแบ่งออกเป็น 4 ฉบับดังนี้
ฉบับที่ 1 พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ
ฉบับที่ 2 การวางแผนการลงทุน
ฉบับที่ 3 การวางแผนประกันภัย และการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ
ฉบับที่ 4.1 การวางแผนภาษี และมรดก
ฉบับที่ 4.2 การจัดทำแผนการเงิน
(***การสอบฉบับที่ 1 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 1 )
(***การสอบฉบับที่ 2 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 1 และ ชุดวิชาที่ 2)
(***การสอบฉบับที่ 3 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 1 ,ชุดวิชาที่ 3 และ ชุดวิชาที่ 4)
(***การสอบฉบับที่ 4.1 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 5 และสอบผ่านหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ฉบับที่ 1,2,3 )
(***การสอบฉบับที่ 4.1 ผู้สมัครจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ชุดวิชาที่ 6 และสอบผ่านหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ฉบับที่ 1,2,3)
• ประสบการณ์การทำงาน (Experience)
สมาคมฯ กำหนดให้นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการวางแผนการเงินแก่ลูกค้า เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ และความสามารถในเชิงปฏิบัติ มีประสบการณ์การทำงาน 3 ปี การปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนการเงิน ที่สามารถนับเป็นประสบการณ์การทำงานได้ เช่น
หน่วยงาน
ธนาคารพาณิชย์
สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์
บริษัทหลักทรัพย์
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน
ตำแหน่งงาน
นักวางแผนการเงิน
ผู้จัดการกองทุน
นักวิเคราะห์
วาณิชธนกิจ/ธนบดีธนกิจ (IB)
ผู้แนะนำการลงทุน
เจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์การเงินและการลงทุน
ผู้บรรยาย หรือเจ้าหน้าที่ฝึกอบรมด้านการเงินและการลงทุน และด้านการกำกับและตรวจสอบ
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
ผู้จัดการกองทุน
เจ้าหน้าที่สมาชิกสัมพันธ์
สำนักงานประกันสังคม
เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารการลงทุน
หน่วยงานกำกับดูแล
เจ้าหน้าที่หน่วยงานกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพ
บริษัทประกันชีวิต
เจ้าหน้าที่บริหารการลงทุน
นักคณิตศาสตร์ประกันชีวิต
ผู้พิจารณารับประกัน (Underwriter) และสินไหมประกันชีวิต
เจ้าหน้าที่กำกับและตรวจสอบ
ตัวแทนขาย
เจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์กรมธรรม์
ผู้บรรยายด้านประกันชีวิต
อื่นๆ ตามที่สมาคมฯ ให้ความเห็นชอบ
รายละเอียดเกณฑ์การนับประสบการณ์การทำงาน http://www.tfpa.or.th/cfp.php?id=19
• จรรยาบรรณ (Ethics)
นักวางแผนการเงิน CFP และผู้สมัครขอรับรองคุณวุฒิวิชาชีพนักวางแผนการเงิน CFP (“ผู้สมัคร”) จะต้องปฏิบัติตามประมวลจรรยาบรรณและความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพวางแผนการเงินเพื่อให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุด รวมทั้งได้รับความเชื่อมั่นและความไว้วางใจจากลูกค้า
หมายเหตุ ในข้อกำหนดที่ทางสมาคมฯ กำหนด คือข้อกำหนดที่จะต้องเตรียมให้พร้อมในการขึ้นทะเบียน เป็นนักวางแผนการเงิน CFP ในส่วนของการอบรมและการสอบ ไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์มาก่อน ถึงจะเรียน และสอบได้
ข้อมูลจาก www.thaipfa.co.th
CR - Consumer Review : กระทู้รีวิวนี้เป็นกระทู้ CR โดยที่เจ้าของกระทู้