สมมุติยกตัวอย่างง่ายๆ มีประชากร 3 คน(ไม่มาก ไม่น้อยเกินไป) ได้แก่ A, B และ C
A ขายสินค้าและบริการให้ B กับ C ให้เท่ากับ A_B และ A_C ตามลำดับ
B ขายสินค้าและบริการให้ A กับ C ให้เท่ากับ B_A และ B_C ตามลำดับ
C ขายสินค้าและบริการให้ A กับ B ให้เท่ากับ C_A และ C_B ตามลำดับ
สรุป
A มีรายได้ A_B + A_C รายจ่าย B_A + C_A
B มีรายได้ B_A + B_C รายจ่าย A_B + C_B
C มีรายได้ C_A + C_B รายจ่าย A_C + B_C
หากสมมุติให้ A กับ B มีรายได้มากกกว่ารายจ่าย จะเขียนสมการได้เป็น
A_B + A_C - B_A - C_A > 0
B_A + B_C - A_B - C_B > 0
ซึ่งถ้าเอาสองสมการนี้มาบวกกันจะได้
A_C + B_C - C_A - C_B > 0
คูณ -1 สองข้าง
C_A + C_B - A_C - A_C < 0
ก็คือ C ขาดทุนเพราะมีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย
ดังนั้น A,B ได้กำไรมีเงินเก็บแต่ C ขาดทุนเป็นหนี้
สรุปก็คือเป็นไปไม่ได้ที่จะมีกำไรกันทุกคน ต้องมีคนที่ขาดทุนเสมอ เพียงแต่ว่าในแต่ละวันคนที่ขาดทุนอาจจะผลัดเปลี่ยนคนกันไป
อยากถามว่าในความเป็นจริงแล้วเป็นลักษณะนี้หรือไม่ ถ้าไม่ใช่เพราะอะไรครับ
ในระบบเศรษฐกิจนั้นหากมีคนได้กำไรแล้วต้องมีคนขาดทุนเสมอเหมือนพวกการเล่นหุ้นใช่หรือไม่
A ขายสินค้าและบริการให้ B กับ C ให้เท่ากับ A_B และ A_C ตามลำดับ
B ขายสินค้าและบริการให้ A กับ C ให้เท่ากับ B_A และ B_C ตามลำดับ
C ขายสินค้าและบริการให้ A กับ B ให้เท่ากับ C_A และ C_B ตามลำดับ
สรุป
A มีรายได้ A_B + A_C รายจ่าย B_A + C_A
B มีรายได้ B_A + B_C รายจ่าย A_B + C_B
C มีรายได้ C_A + C_B รายจ่าย A_C + B_C
หากสมมุติให้ A กับ B มีรายได้มากกกว่ารายจ่าย จะเขียนสมการได้เป็น
A_B + A_C - B_A - C_A > 0
B_A + B_C - A_B - C_B > 0
ซึ่งถ้าเอาสองสมการนี้มาบวกกันจะได้
A_C + B_C - C_A - C_B > 0
คูณ -1 สองข้าง
C_A + C_B - A_C - A_C < 0
ก็คือ C ขาดทุนเพราะมีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย
ดังนั้น A,B ได้กำไรมีเงินเก็บแต่ C ขาดทุนเป็นหนี้
สรุปก็คือเป็นไปไม่ได้ที่จะมีกำไรกันทุกคน ต้องมีคนที่ขาดทุนเสมอ เพียงแต่ว่าในแต่ละวันคนที่ขาดทุนอาจจะผลัดเปลี่ยนคนกันไป
อยากถามว่าในความเป็นจริงแล้วเป็นลักษณะนี้หรือไม่ ถ้าไม่ใช่เพราะอะไรครับ