ช่วยแนะนำหน่อยครับว่าวิธีไหนถูกต้อง ระหว่างวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2
วิธีที่ 1 คิดไปทีละบรรทัด คือเอาราคาสินค้าแต่ละรายการ คูณกับ VAT 7% พอคำนวณครบทุกรายการแล้ว จึงไปรวม VAT ในตอนสุดท้าย
เช่น สินค้า A ราคาหน่วยละ 50 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 5 หน่วย ราคาสินค้า = 250 บาท VAT 7% = 17.50
สินค้า B ราคาหน่วยละ 13.50 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 13 หน่วย ราคาสินค้า = 175.50 บาท VAT 7% = 12.29
สินค้า C ราคาหน่วยละ 16.5 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 7 หน่วย ราคาสินค้า = 115.5 บาท VAT 7% = 8.09
สินค้า D ราคาหน่วยละ 43.5 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 7 หน่วย ราคาสินค้า = 304.5 บาท VAT 7% = 21.32
รวม VAT = 59.20
วิธีที่ 2 คิดราคาสินค้าทุกรายการรวมกันจนได้ราคาสินค้ารวมทั้งหมดก่อน VAT 7% แล้วค่อยมาคิด VAT 7% ทีเดียว
เช่นจากตัวอย่างที่ 1
ราคาสินค้า A รวม 250 บาท + ราคาสินค้า B รวม 175.50 บาท + ราคาสินค้า C รวม 115.50 บาท + ราคาสินค้า D รวม 304.50 บาท = 845.50 บาท
คิด VAT 7% ของ 845.50 บาท = 59.19 บาท
คือจะเห็นว่า VAT มันจะต่างกันนิดหน่อยครับ
อยากทราบว่าวิธีไหนถูกกว่ากันครับผม
สอบถามนักบัญชีและนักคณิตศาสตร์หน่อยครับ วิธีคิดค่าสินค้า และ VAT แบบไหน จึงจะถูกต้องกว่ากันครับ
วิธีที่ 1 คิดไปทีละบรรทัด คือเอาราคาสินค้าแต่ละรายการ คูณกับ VAT 7% พอคำนวณครบทุกรายการแล้ว จึงไปรวม VAT ในตอนสุดท้าย
เช่น สินค้า A ราคาหน่วยละ 50 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 5 หน่วย ราคาสินค้า = 250 บาท VAT 7% = 17.50
สินค้า B ราคาหน่วยละ 13.50 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 13 หน่วย ราคาสินค้า = 175.50 บาท VAT 7% = 12.29
สินค้า C ราคาหน่วยละ 16.5 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 7 หน่วย ราคาสินค้า = 115.5 บาท VAT 7% = 8.09
สินค้า D ราคาหน่วยละ 43.5 บาท ลูกค้าซื้อจำนวน 7 หน่วย ราคาสินค้า = 304.5 บาท VAT 7% = 21.32
รวม VAT = 59.20
วิธีที่ 2 คิดราคาสินค้าทุกรายการรวมกันจนได้ราคาสินค้ารวมทั้งหมดก่อน VAT 7% แล้วค่อยมาคิด VAT 7% ทีเดียว
เช่นจากตัวอย่างที่ 1
ราคาสินค้า A รวม 250 บาท + ราคาสินค้า B รวม 175.50 บาท + ราคาสินค้า C รวม 115.50 บาท + ราคาสินค้า D รวม 304.50 บาท = 845.50 บาท
คิด VAT 7% ของ 845.50 บาท = 59.19 บาท
คือจะเห็นว่า VAT มันจะต่างกันนิดหน่อยครับ
อยากทราบว่าวิธีไหนถูกกว่ากันครับผม