อัตลักษณ์ เส้นทางของแต่ละศาสนา
องค์พระทางจีน จะเน้นลูกประคำ ไม่เน้นพวงมาลัย
แต่ทางองค์สายเทพ ฮินดู จะเน้นพวงมาลัย เน้นปัจจุบัน เช่น เทพยังมีลูก มีเมีย
ทางสายพุทธ (buddhism) จะเน้น ไม่อยากอยู่ จะเป็นทุกข์
แต่ทางฮินดู (Hinduism) จะเน้นปัจจุบันว่า "อยู่" อยู่ให้เป็นสุขยังไง
“เต๋า (道)” จะมี ๒ ระดับ
ระดับที่ ๑ เน้นรู้แจ้งเพื่อให้หลุดพ้น เข้าสู่การหลุดพ้น
ระดับที่ ๒ คาบเกี่ยวกับขงจื้อ (孔子) จะเน้นปัจจุบันว่าอยู่ยังไงให้มีความสุข ก็จะคล้ายทางฮินดู แต่ขงจื้อจะไม่เน้นอภินิหาร
เทวดาสามารถมาช่วยเราได้ แต่ขงจื้อ (孔子) ไม่ได้ปรารถนาและขอร้องมาให้ช่วย แต่ถ้าเทวดาช่วยขงจื้อก็ยินดีรับ แต่จะไม่ขอร้องเทวดาให้ช่วย นี่คือของขงจื้อ ท่านไม่ปฏิเสธเทวดา แต่ไม่แบมือขอ
แล้วการบวงสรวงเทวดาฟ้าดินของฮ่องเต้ (皇帝) เอามาจากไหน? เอามาจากลัทธิเต๋า แต่ขงจื้อจะเน้นกตัญญู (孝 : เซี่ยว xiào ; filial piety; obedience) ภักดี (忠 ตง zhōng;)
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต
อัตลักษณ์ เส้นทางของแต่ละศาสนา
องค์พระทางจีน จะเน้นลูกประคำ ไม่เน้นพวงมาลัย
แต่ทางองค์สายเทพ ฮินดู จะเน้นพวงมาลัย เน้นปัจจุบัน เช่น เทพยังมีลูก มีเมีย
ทางสายพุทธ (buddhism) จะเน้น ไม่อยากอยู่ จะเป็นทุกข์
แต่ทางฮินดู (Hinduism) จะเน้นปัจจุบันว่า "อยู่" อยู่ให้เป็นสุขยังไง
“เต๋า (道)” จะมี ๒ ระดับ
ระดับที่ ๑ เน้นรู้แจ้งเพื่อให้หลุดพ้น เข้าสู่การหลุดพ้น
ระดับที่ ๒ คาบเกี่ยวกับขงจื้อ (孔子) จะเน้นปัจจุบันว่าอยู่ยังไงให้มีความสุข ก็จะคล้ายทางฮินดู แต่ขงจื้อจะไม่เน้นอภินิหาร
เทวดาสามารถมาช่วยเราได้ แต่ขงจื้อ (孔子) ไม่ได้ปรารถนาและขอร้องมาให้ช่วย แต่ถ้าเทวดาช่วยขงจื้อก็ยินดีรับ แต่จะไม่ขอร้องเทวดาให้ช่วย นี่คือของขงจื้อ ท่านไม่ปฏิเสธเทวดา แต่ไม่แบมือขอ
แล้วการบวงสรวงเทวดาฟ้าดินของฮ่องเต้ (皇帝) เอามาจากไหน? เอามาจากลัทธิเต๋า แต่ขงจื้อจะเน้นกตัญญู (孝 : เซี่ยว xiào ; filial piety; obedience) ภักดี (忠 ตง zhōng;)
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต