ปัญหาเรื่องอภิธรรมปิฎก เป็นพุทธพจน์หรือไม่ และมีจริงเปล่า?
ในปฐมสังคีติ ดูตามวินัยปิฎกจุลวรรค พบแต่คำว่าสังคายนาพระธรรมและพระวินัยเท่านั้น หาได้พบคำว่าอภิธรรมไม่ แต่ในคาถาสรุปเรื่องสังคีติครั้นนั้นมีความว่า
"...ธมฺมวินยสงฺคีตึ วสนฺโต คุหมุตฺตเม อุปาลึ วินยํ ปุจฺฉิ สุตฺตนฺตานนฺท ปณฺฑิตํ ปิฎกํ ตีณิ สงฺคีติ อกํสุ ชินสาวกา"
มีทั้งเหตุผลฝ่ายปฏิเสธอภิธรรมปิฎก และฝ่ายรับอภิธรรมเป็นพระพุทธพจน์ (เสถียร โพธินันทะ. ๒๕๒๒. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, ๑๒๔.)
สรุป ทั้ง ๒ ฝ่ายผิดหมด ไปเถียงว่าจริงหรือไม่จริง เราต้องไปดูว่า "มีสาระ" หรือ "ไม่มีสาระ" ถ้ามีสาระเก็บไว้ จะไปเถียงกันทำไม เพราะว่าไม่มีใครที่จะสามารถไปรู้ข้อเท็จจริงอย่างนั้นได้ เพราะว่าคนที่อยู่ในสมัยนั้นตายไปหมดแล้ว
มีสาระดีเราก็นำเก็บมาใช้ ถ้าไม่มีสาระเราก็ปล่อยผ่านไป เถียงกันไม่มีประโยชน์ เหมือนกับว่าเราฝัน เราจะเอาจริงจะเอาจริงยังไง ก็มันเป็นความฝัน มันไม่มีทาง เราจะต้องดูว่ามันมีสาระหรือไม่มีสาระ มันเป็นปัญหาโลกแตก เราจะเอาอะไรมาอ้างก็จะมีคำค้านไปหมดอยู่ตลอด ถ้าเราเอาอะไรมาค้านก็จะมีสิ่งที่อ้างอิงมาอ้างอยู่ตลอด ฉะนั้น ไม่จบ ต้องดูว่ามีประโยชน์อยู่ในภาวะนี้หรือไม่ ถ้ามีประโยชน์ก็นำมาใช้ ไม่มีประโยชน์ปล่อยผ่าน
แล้วจะไปแก้ไขไหม? ก็ไม่ได้ไปแก้ ไม่ต้องไปแตะ เพราะแต่ละภาวะไม่เหมือนกัน ถ้าผ่านไปอีก ๕๐ ปี ตรงนั้นไม่สำคัญ แต่เวลานั้นอาจสำคัญกับภาวะนั้นก็ได้
ตรงไหนมีสาระ มีประโยชน์ในเวลานี้ เราก็เอามาใช้ ไม่มีประโยชน์ก็ปล่อยผ่าน ไว้ในธรรม บางครั้งทุ่มเถียงกันรุนแรง ถึงขนาดไม่เผาผีกันเลย
วัตถุ ๑๐ ประการก็เช่นเดียวกัน มีสาระก็นำมาใช้ ไม่มีสาระก็ปล่อยผ่าน
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต
ภาพจาก
http://mcuaad.mcu.ac.th/ac/textbook/show.php?id=14
ปัญหาเรื่องอภิธรรมปิฎก เป็นพุทธพจน์หรือไม่ และมีจริงเปล่า?
ในปฐมสังคีติ ดูตามวินัยปิฎกจุลวรรค พบแต่คำว่าสังคายนาพระธรรมและพระวินัยเท่านั้น หาได้พบคำว่าอภิธรรมไม่ แต่ในคาถาสรุปเรื่องสังคีติครั้นนั้นมีความว่า
"...ธมฺมวินยสงฺคีตึ วสนฺโต คุหมุตฺตเม อุปาลึ วินยํ ปุจฺฉิ สุตฺตนฺตานนฺท ปณฺฑิตํ ปิฎกํ ตีณิ สงฺคีติ อกํสุ ชินสาวกา"
มีทั้งเหตุผลฝ่ายปฏิเสธอภิธรรมปิฎก และฝ่ายรับอภิธรรมเป็นพระพุทธพจน์ (เสถียร โพธินันทะ. ๒๕๒๒. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, ๑๒๔.)
สรุป ทั้ง ๒ ฝ่ายผิดหมด ไปเถียงว่าจริงหรือไม่จริง เราต้องไปดูว่า "มีสาระ" หรือ "ไม่มีสาระ" ถ้ามีสาระเก็บไว้ จะไปเถียงกันทำไม เพราะว่าไม่มีใครที่จะสามารถไปรู้ข้อเท็จจริงอย่างนั้นได้ เพราะว่าคนที่อยู่ในสมัยนั้นตายไปหมดแล้ว
มีสาระดีเราก็นำเก็บมาใช้ ถ้าไม่มีสาระเราก็ปล่อยผ่านไป เถียงกันไม่มีประโยชน์ เหมือนกับว่าเราฝัน เราจะเอาจริงจะเอาจริงยังไง ก็มันเป็นความฝัน มันไม่มีทาง เราจะต้องดูว่ามันมีสาระหรือไม่มีสาระ มันเป็นปัญหาโลกแตก เราจะเอาอะไรมาอ้างก็จะมีคำค้านไปหมดอยู่ตลอด ถ้าเราเอาอะไรมาค้านก็จะมีสิ่งที่อ้างอิงมาอ้างอยู่ตลอด ฉะนั้น ไม่จบ ต้องดูว่ามีประโยชน์อยู่ในภาวะนี้หรือไม่ ถ้ามีประโยชน์ก็นำมาใช้ ไม่มีประโยชน์ปล่อยผ่าน
แล้วจะไปแก้ไขไหม? ก็ไม่ได้ไปแก้ ไม่ต้องไปแตะ เพราะแต่ละภาวะไม่เหมือนกัน ถ้าผ่านไปอีก ๕๐ ปี ตรงนั้นไม่สำคัญ แต่เวลานั้นอาจสำคัญกับภาวะนั้นก็ได้
ตรงไหนมีสาระ มีประโยชน์ในเวลานี้ เราก็เอามาใช้ ไม่มีประโยชน์ก็ปล่อยผ่าน ไว้ในธรรม บางครั้งทุ่มเถียงกันรุนแรง ถึงขนาดไม่เผาผีกันเลย
วัตถุ ๑๐ ประการก็เช่นเดียวกัน มีสาระก็นำมาใช้ ไม่มีสาระก็ปล่อยผ่าน
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต
ภาพจาก http://mcuaad.mcu.ac.th/ac/textbook/show.php?id=14