เมื่อเดือน ธ.ค. ที่ผ่านมา นายจ้าง เรียกเข้าไปคุย เพื่อแจ้งว่าจะเลิกจ้างงาน มีผลตอนสิ้นเดือน มี.ค. 63
แล้วอนุญาตให้เรามาทำงานถึงแค่สิ้นเดือน ก.พ. 63 โดยถือว่าเงินเดือนในเดือนมี.ค. เป็นค่าชดเชย
ด้วยเหตุผลที่ว่า บริษัทต้องการจะประหยัดงบประมาณ แล้วตำแหน่งที่เราทำอยู่ ไม่ได้มีความจำเป็นกับองค์กรแล้ว
.
.
จากการศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับเงินค่าชดเชย กรณีถูกเลิกจ้าง ทราบว่า
กรณีที่อายุงานเกิน 1 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี จะได้เงินชดเชย 90 วัน
(เราเข้างานเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 62)
เลยเข้าไปคุยกับทางฝ่ายบุคคล เพื่อสอบถาม เกี่ยวกับจำนวนวันที่จะได้รับเงินค่าชดเชย
ทางฝ่ายบุคคลแจ้งกลับมาว่า "การนับอายุงาน นับอายุงานจนถึงวันที่แจ้งให้ทราบว่าจะเลิกจ้าง"
เพราะฉะนั้น อายุงานเราไม่ถึง 1 ปี ในวันที่เจ้านายแจ้งให้ทราบ บริษัทเลยจะจ่ายให้เพียง 30 วันเท่านั้น
คำถาม
1. เค้านับแบบนี้กันจริงๆ เหรอคะ? เพราะเข้าใจว่า ต้องนับตั้งแต่เริ่มต้นทำงาน จนถึง วันสิ้นสุดการทำงาน (ปลายเดือน ก.พ.)
2. นอกเหนือจากเงินค่าชดเชยดังกล่าวแล้ว เราสามารถเรียกร้องอะไรเพิ่มได้อีกไหมคะ?
===================================================================
การนับอายุงาน กรณีจ่ายค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง
แล้วอนุญาตให้เรามาทำงานถึงแค่สิ้นเดือน ก.พ. 63 โดยถือว่าเงินเดือนในเดือนมี.ค. เป็นค่าชดเชย
ด้วยเหตุผลที่ว่า บริษัทต้องการจะประหยัดงบประมาณ แล้วตำแหน่งที่เราทำอยู่ ไม่ได้มีความจำเป็นกับองค์กรแล้ว
.
.
จากการศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับเงินค่าชดเชย กรณีถูกเลิกจ้าง ทราบว่า
กรณีที่อายุงานเกิน 1 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี จะได้เงินชดเชย 90 วัน
(เราเข้างานเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 62)
เลยเข้าไปคุยกับทางฝ่ายบุคคล เพื่อสอบถาม เกี่ยวกับจำนวนวันที่จะได้รับเงินค่าชดเชย
ทางฝ่ายบุคคลแจ้งกลับมาว่า "การนับอายุงาน นับอายุงานจนถึงวันที่แจ้งให้ทราบว่าจะเลิกจ้าง"
เพราะฉะนั้น อายุงานเราไม่ถึง 1 ปี ในวันที่เจ้านายแจ้งให้ทราบ บริษัทเลยจะจ่ายให้เพียง 30 วันเท่านั้น
คำถาม
1. เค้านับแบบนี้กันจริงๆ เหรอคะ? เพราะเข้าใจว่า ต้องนับตั้งแต่เริ่มต้นทำงาน จนถึง วันสิ้นสุดการทำงาน (ปลายเดือน ก.พ.)
2. นอกเหนือจากเงินค่าชดเชยดังกล่าวแล้ว เราสามารถเรียกร้องอะไรเพิ่มได้อีกไหมคะ?
===================================================================