ต้องบอกก่อนนะครับว่าผมไม่ได้ศึกษาด้านนี้มาอย่างละเอียด
ตามสมมติฐานของไอน์สไตน์ในสัมพัทธภาพพิเศษ อธิบายแค่ความสัมพันธ์ระหว่างกรอบอ้างอิงว่า
ความเร็วแสงเท่ากันเสมอ ในทุก ๆ กรอบอ้างอิง
แต่ว่าในกรณีที่เราเป็นกรอบอ้างอิงที่อยู่นิ่งที่สังเกตวัตถุสองชนิดเคลื่อนที่ออกจากกันด้วยความเร็วเกิน 50% ของความเร็วแสง
อัตราการขยายตัวของระยะห่างระหว่างวัตถุสองชนิดนี้ที่สังเกตโดยกรอบอ้างอิงที่อยู่นิ่ง ก็ควรจะโตเกินความเร็วแสงหรือไม่ครับ ?
เพราะว่าสัมพัทธภาพพิเศษ อธิบายถึงแค่กรอบอ้างอิงในแต่ละวัตถุ และในแต่ละวัตถุก็จะสังเกตการเกิด length contraction ในระยะทางของตัวมันเองกับอีกวัตถุหนึ่ง ทำให้ไม่สามารถเห็นการเติบโตของระยะทางของทั้งสองวัตถุเกินความเร็วแสงได้
และถ้าเป็นไปตามนั้นจริง ๆ การที่จักรวาลขยายตัวเกินความเร็วแสงนั้นเกิดจากเหตุผลนี้หรือไม่ครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ถ้าเราอยู่นิ่งและมองจรวดสองลำที่วิ่งออกจากกันด้วย90%ของความเร็วแสง เราจะเห็นระยะห่างระหว่างจรวดโตเกินความเร็วแสงหรือไม่
ตามสมมติฐานของไอน์สไตน์ในสัมพัทธภาพพิเศษ อธิบายแค่ความสัมพันธ์ระหว่างกรอบอ้างอิงว่า
ความเร็วแสงเท่ากันเสมอ ในทุก ๆ กรอบอ้างอิง
แต่ว่าในกรณีที่เราเป็นกรอบอ้างอิงที่อยู่นิ่งที่สังเกตวัตถุสองชนิดเคลื่อนที่ออกจากกันด้วยความเร็วเกิน 50% ของความเร็วแสง
อัตราการขยายตัวของระยะห่างระหว่างวัตถุสองชนิดนี้ที่สังเกตโดยกรอบอ้างอิงที่อยู่นิ่ง ก็ควรจะโตเกินความเร็วแสงหรือไม่ครับ ?
เพราะว่าสัมพัทธภาพพิเศษ อธิบายถึงแค่กรอบอ้างอิงในแต่ละวัตถุ และในแต่ละวัตถุก็จะสังเกตการเกิด length contraction ในระยะทางของตัวมันเองกับอีกวัตถุหนึ่ง ทำให้ไม่สามารถเห็นการเติบโตของระยะทางของทั้งสองวัตถุเกินความเร็วแสงได้
และถ้าเป็นไปตามนั้นจริง ๆ การที่จักรวาลขยายตัวเกินความเร็วแสงนั้นเกิดจากเหตุผลนี้หรือไม่ครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ