เวเนซุเอลาไม่ได้พังเพราะสังคมนิยมหรือประชานิยม แต่พังเพราะ ไม่กระจายความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ พอ Factor นั้นๆ เกิดปัญหาก็กระทบไปทั้งระบบ เช่นส่งออกพลังงานไม่ได้ จนขาดแคลนเงินตรา ก็นำเข้าสินค้าที่จำเป็นไม่ได้ ซึ่ง ภาคธุรกิจของไทย ไม่ได้พึ่งพาอะไรอย่างใดอย่างนึงมากเป็นพิเศษ จึงมีความมั่นคงในระดับนึง
นโยบายหลายๆอย่างของเขานั้นดีมาก และ เหมาะที่จะเอามาใช้ในไทยเป็นอย่างยิ่ง
-ยึดกิจการขนาดใหญ่ ๆ เช่น Cp ปตท. Thaibev Aot ของคนรวยมาเป็นของรัฐทั้งหมด 100 % และให้ประชาชนทั้งประเทศเป็นผู้ถือหุ้น เป็นการกระจายทรัพยากรจากข้างบนให้ไหลบ่าลงมาข้างล่าง และเป็นแหล่งรายได้งบประมาณของรัฐที่จะนำมาใช้จ่ายด้าน สวัสดิการ
-ทำลายกลไกราคาเสรีทิ้ง ถือเป็นสวัสดิการรัฐที่จำเป็นชนิดนึง ให้คนยากจนได้เข้าถึงสินค้าและบริการในราคาที่ยุติธรรม เพิ่มมาตราฐานการครองชีพ และ เพื่อให้คนรุ่นใหม่ตั้งตัว ได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องมาติดวังวนภาระหนี้สินต่างๆ ตั้งแต่ยังเรียนไม่จบ เพราะระบบตลาดราคาเสรีที่บีบคั้นเอาไว้
-สำหรับภาคเกษตรกรรม ถ้าไม่สามารถแข่งขันได้อีกต่อไป เนื่องจากการทำลายระบบตลาดเสรี ก็ให้เกษตรกรทิ้งที่ดินตัวเอง เข้าไปในเมืองให้หมด แล้วให้รัฐบาลเข้าเป็นเจ้าของที่ดินทั้งหมด รวมถึงต้องยึดริบที่ดินทั้งหมดจาก Landlord มาด้วยเช่นกัน พูดง่ายๆคือ ไม่ให้ประชาชนได้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินอีกต่อไป รัฐบาลจะเป็นผู้ลงทุนภาคการเกษตรเองทั้งหมด อาหารก็จะถูกขนเข้าไปขายในเมืองในราคาเท่าทุน เหลือก็ส่งออกว่ากันไป ในข้อนี้ ถือเป็นสวัสดิการด้านอาหาร และ ลดความไม่เท่าเทียมทางด้านทรัพย์สิน
-จากข้อที่กล่าวมานี้ทั้งหมด การที่รัฐบาลต้องเป็นผู้ลงทุนในภาคธุรกิจแทนเอกชนทั้งหมด ก็จะให้เกิดการจ้างงานโดยภาครัฐมากขึ้น จะเป็นงานที่มั่นคง ผลตอบแทนที่ยุติธรรม แรงงาน จะไม่ตกเป็นขี้ข้าของนายทุนและคนรวยอีกต่อไป ทุกอย่างจะเป็นของประชาชนทั้งหมดอย่างเท่าเทียมกัน จะไม่มีใครได้มากกว่าคนอื่น
Cr. Jirayu Suteerattanapirom
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ใส่ข้อความ
[code][/code]
เอาจริงๆแล้ว ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมของเวเนซูเอลานั้นดีมาก แต่คนไทยมักจะเข้าใจผิดกันตามที่สื่อชาติ ตวต. Propaganda
นโยบายหลายๆอย่างของเขานั้นดีมาก และ เหมาะที่จะเอามาใช้ในไทยเป็นอย่างยิ่ง
-ยึดกิจการขนาดใหญ่ ๆ เช่น Cp ปตท. Thaibev Aot ของคนรวยมาเป็นของรัฐทั้งหมด 100 % และให้ประชาชนทั้งประเทศเป็นผู้ถือหุ้น เป็นการกระจายทรัพยากรจากข้างบนให้ไหลบ่าลงมาข้างล่าง และเป็นแหล่งรายได้งบประมาณของรัฐที่จะนำมาใช้จ่ายด้าน สวัสดิการ
-ทำลายกลไกราคาเสรีทิ้ง ถือเป็นสวัสดิการรัฐที่จำเป็นชนิดนึง ให้คนยากจนได้เข้าถึงสินค้าและบริการในราคาที่ยุติธรรม เพิ่มมาตราฐานการครองชีพ และ เพื่อให้คนรุ่นใหม่ตั้งตัว ได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องมาติดวังวนภาระหนี้สินต่างๆ ตั้งแต่ยังเรียนไม่จบ เพราะระบบตลาดราคาเสรีที่บีบคั้นเอาไว้
-สำหรับภาคเกษตรกรรม ถ้าไม่สามารถแข่งขันได้อีกต่อไป เนื่องจากการทำลายระบบตลาดเสรี ก็ให้เกษตรกรทิ้งที่ดินตัวเอง เข้าไปในเมืองให้หมด แล้วให้รัฐบาลเข้าเป็นเจ้าของที่ดินทั้งหมด รวมถึงต้องยึดริบที่ดินทั้งหมดจาก Landlord มาด้วยเช่นกัน พูดง่ายๆคือ ไม่ให้ประชาชนได้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินอีกต่อไป รัฐบาลจะเป็นผู้ลงทุนภาคการเกษตรเองทั้งหมด อาหารก็จะถูกขนเข้าไปขายในเมืองในราคาเท่าทุน เหลือก็ส่งออกว่ากันไป ในข้อนี้ ถือเป็นสวัสดิการด้านอาหาร และ ลดความไม่เท่าเทียมทางด้านทรัพย์สิน
-จากข้อที่กล่าวมานี้ทั้งหมด การที่รัฐบาลต้องเป็นผู้ลงทุนในภาคธุรกิจแทนเอกชนทั้งหมด ก็จะให้เกิดการจ้างงานโดยภาครัฐมากขึ้น จะเป็นงานที่มั่นคง ผลตอบแทนที่ยุติธรรม แรงงาน จะไม่ตกเป็นขี้ข้าของนายทุนและคนรวยอีกต่อไป ทุกอย่างจะเป็นของประชาชนทั้งหมดอย่างเท่าเทียมกัน จะไม่มีใครได้มากกว่าคนอื่น
Cr. Jirayu Suteerattanapirom
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
[code][/code]