คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
เผอิญ tag ศาสนาพุทธ
ดังนั้นถ้าตอบตามหลักการศาสนาพุทธนี่ หากมีเรื่องงมงาย หลอกลวง คนที่รู้ก็มีเพียงหน้าที่ บอกความจริง เปิดเผยความจริงตามความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่ถูกต้องให้เขาเหล่านั้นได้เรียนรู้ ศึกษา เท่านั้น ส่วนเขาจะเชื่อหรือไม่เชื่อ ทำตามหรือไม่ทำตามเป็นเรื่องของเขา ไม่ได้มีหน้าที่ไปเกะกะระราน กร่าง อาละวาด ทำลาย หรือ ทำอวดดีไปทั่ว ก่อเวร ก่อกรรมนะ ความอ่อนน้อมถ่อมตนวางตนอย่างเหมาะสมไม่ให้ใครเกลียด อาฆาต พยาบาท จองเวร การรู้ว่าสิ่งไหนควรไม่ควร ต่อสิ่งมีชีวิตทุกประเภท เป็นคำสอนพื้นฐานในศาสนาพุทธเช่นกัน
........
ภิกษุรูปหนึ่งและเทวดา
เรื่องนี้เกิดขึ้น เมื่อพระศาสดาประทับอยู่ที่อัคคาฬวเจดีย์
เมื่อพระศาสดาทรงอนุญาตเสนาสนะ*
แก่ภิกษุสงฆ์แล้ว เมื่อเศรษฐีกรุงราชคฤห์เป็นต้น
กำลังสร้างเสนาสนะถวายสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
*ก่อนทรงอนุญาตเสนาสนะ
ภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ไม้ หรือตามซอกถ้ำ
ภิกษุชาวเมืองอาฬวีรูปหนึ่ง
จึงปรารภจะตัดต้นไม้
รุกขเทวดาองค์หนึ่งอุ้มลูกไว้ที่เอว
รีบมาหาพระขอร้องว่า
“พระคุณเจ้ากรุณาอย่าตัดวิมานของข้าพเจ้าเลย
ถ้าพระคุณเจ้าตัดแล้ว
ข้าพเจ้าจะไม่มีที่อยู่ต้องอุ้มลูกเร่ร่อนไป”
แม้กระนั้นภิกษุนั้นก็ไม่ฟังเสียง
เพราะคิดว่า เราจะไม่ได้ต้นไม้อย่างนี้ในที่อื่น
เทวดาคิดว่า พระเห็นเด็กน้อยแล้ว
อาจมีจิตเมตตาเว้นการตัดต้นไม้นี้
จึงวางบุตรไว้บนกิ่งไม้
ฝ่ายภิกษุไม่อาจยั้งขวานที่ตนยกขึ้นแล้วได้
(คือยั้งไม่ทัน) ฟันกิ่งไม้ถูกเอาแขนทารกขาด
---------------------
เทวดาโกรธเป็นกำลัง ยกมือทั้งสองขึ้น
จะฟาดภิกษุนั้นให้ตาย แต่พลันคิดได้ว่า
“ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีล ถ้าเราฆ่าเสีย
เราก็จักต้องตกนรก เทวดาอื่นๆ
เมื่อได้พบภิกษุตัดต้นไม้ของตน
จักถือเราเป็นตัวอย่างแล้วฆ่าภิกษุทั้งหลายเสีย
ภิกษุนี้มีเจ้าของคือพระพุทธเจ้า
เราควรไปบอกกล่าวเจ้าของเสียก่อน”
คิดดังนี้แล้วลดมือลง ร้องไห้
ไปสู่สำนักของพระศาสดา
ถวายบังคมแล้วยืนอยู่ ณ ที่หนึ่งอันสมควรแก่ตน
กาสาวพัสตร์คุ้มครองภิกษุได้อย่างนี้
แม้ในกรณีที่น่าอันตรายก็มิได้รับอันตราย
เขากราบทูลเรื่องทั้งปวงให้พระศาสดาทรงทราบ
พระพุทธองค์ทรงประทานสาธุการ ๓ ครั้งว่า
“ดีแล้วเทวดา เธอทำกรรมดีแล้วที่ห้ามความโกรธ
ที่เกิดขึ้นเสียได้” ดังนี้แล้วตรัสพระคาถาว่า
“ผู้ใดข่มความโกรธที่พลุ่งขึ้นได้” เป็นอาทิ
ดังพรรณนามาแล้วแต่ต้น เมื่อจบเทศนา
เทวดาได้ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล
แม้กระนั้นก็ยังไม่หยุดร้องไห้
เพราะเสียดายต้นไม้อันเป็นวิมานของตน
ไม่อยากจะเร่ร่อนไปในที่อื่น
พระพุทธองค์ทรงทราบดังนั้น
จึงทรงชี้ให้เทวดาไปสถิต ณ ต้นไม้ต้นหนึ่ง
ที่เทวดาเพิ่งจุติไปไม่กี่วัน ยังว่างอยู่
เทวดาไปสถิต ณ ต้นไม้นั้น ตั้งแต่นั้นมา
แม้เทวดาผู้มีศักดิ์ใหญ่ก็เกรงใจเขา
เพราะรู้ว่า ต้นไม้นั้นพระพุทธเจ้าทรงประทาน
พระศาสดาทรงปรารภเรื่องที่พระไปตัดต้นไม้นี้
จึงทรงบัญญัติภูตคามสิกขาบท*
ห้ามพระตัดต้นไม้ตั้งแต่นั้นมา
--------------------------------------
*สิกขาบทที่ ๑ แห่งภูตคามวรรค ปาจิตตียภัณฑ์
ดู นวโกวาท พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส – ว.ศ.
ดังนั้นถ้าตอบตามหลักการศาสนาพุทธนี่ หากมีเรื่องงมงาย หลอกลวง คนที่รู้ก็มีเพียงหน้าที่ บอกความจริง เปิดเผยความจริงตามความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่ถูกต้องให้เขาเหล่านั้นได้เรียนรู้ ศึกษา เท่านั้น ส่วนเขาจะเชื่อหรือไม่เชื่อ ทำตามหรือไม่ทำตามเป็นเรื่องของเขา ไม่ได้มีหน้าที่ไปเกะกะระราน กร่าง อาละวาด ทำลาย หรือ ทำอวดดีไปทั่ว ก่อเวร ก่อกรรมนะ ความอ่อนน้อมถ่อมตนวางตนอย่างเหมาะสมไม่ให้ใครเกลียด อาฆาต พยาบาท จองเวร การรู้ว่าสิ่งไหนควรไม่ควร ต่อสิ่งมีชีวิตทุกประเภท เป็นคำสอนพื้นฐานในศาสนาพุทธเช่นกัน
........
ภิกษุรูปหนึ่งและเทวดา
เรื่องนี้เกิดขึ้น เมื่อพระศาสดาประทับอยู่ที่อัคคาฬวเจดีย์
เมื่อพระศาสดาทรงอนุญาตเสนาสนะ*
แก่ภิกษุสงฆ์แล้ว เมื่อเศรษฐีกรุงราชคฤห์เป็นต้น
กำลังสร้างเสนาสนะถวายสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
*ก่อนทรงอนุญาตเสนาสนะ
ภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ไม้ หรือตามซอกถ้ำ
ภิกษุชาวเมืองอาฬวีรูปหนึ่ง
จึงปรารภจะตัดต้นไม้
รุกขเทวดาองค์หนึ่งอุ้มลูกไว้ที่เอว
รีบมาหาพระขอร้องว่า
“พระคุณเจ้ากรุณาอย่าตัดวิมานของข้าพเจ้าเลย
ถ้าพระคุณเจ้าตัดแล้ว
ข้าพเจ้าจะไม่มีที่อยู่ต้องอุ้มลูกเร่ร่อนไป”
แม้กระนั้นภิกษุนั้นก็ไม่ฟังเสียง
เพราะคิดว่า เราจะไม่ได้ต้นไม้อย่างนี้ในที่อื่น
เทวดาคิดว่า พระเห็นเด็กน้อยแล้ว
อาจมีจิตเมตตาเว้นการตัดต้นไม้นี้
จึงวางบุตรไว้บนกิ่งไม้
ฝ่ายภิกษุไม่อาจยั้งขวานที่ตนยกขึ้นแล้วได้
(คือยั้งไม่ทัน) ฟันกิ่งไม้ถูกเอาแขนทารกขาด
---------------------
เทวดาโกรธเป็นกำลัง ยกมือทั้งสองขึ้น
จะฟาดภิกษุนั้นให้ตาย แต่พลันคิดได้ว่า
“ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีล ถ้าเราฆ่าเสีย
เราก็จักต้องตกนรก เทวดาอื่นๆ
เมื่อได้พบภิกษุตัดต้นไม้ของตน
จักถือเราเป็นตัวอย่างแล้วฆ่าภิกษุทั้งหลายเสีย
ภิกษุนี้มีเจ้าของคือพระพุทธเจ้า
เราควรไปบอกกล่าวเจ้าของเสียก่อน”
คิดดังนี้แล้วลดมือลง ร้องไห้
ไปสู่สำนักของพระศาสดา
ถวายบังคมแล้วยืนอยู่ ณ ที่หนึ่งอันสมควรแก่ตน
กาสาวพัสตร์คุ้มครองภิกษุได้อย่างนี้
แม้ในกรณีที่น่าอันตรายก็มิได้รับอันตราย
เขากราบทูลเรื่องทั้งปวงให้พระศาสดาทรงทราบ
พระพุทธองค์ทรงประทานสาธุการ ๓ ครั้งว่า
“ดีแล้วเทวดา เธอทำกรรมดีแล้วที่ห้ามความโกรธ
ที่เกิดขึ้นเสียได้” ดังนี้แล้วตรัสพระคาถาว่า
“ผู้ใดข่มความโกรธที่พลุ่งขึ้นได้” เป็นอาทิ
ดังพรรณนามาแล้วแต่ต้น เมื่อจบเทศนา
เทวดาได้ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล
แม้กระนั้นก็ยังไม่หยุดร้องไห้
เพราะเสียดายต้นไม้อันเป็นวิมานของตน
ไม่อยากจะเร่ร่อนไปในที่อื่น
พระพุทธองค์ทรงทราบดังนั้น
จึงทรงชี้ให้เทวดาไปสถิต ณ ต้นไม้ต้นหนึ่ง
ที่เทวดาเพิ่งจุติไปไม่กี่วัน ยังว่างอยู่
เทวดาไปสถิต ณ ต้นไม้นั้น ตั้งแต่นั้นมา
แม้เทวดาผู้มีศักดิ์ใหญ่ก็เกรงใจเขา
เพราะรู้ว่า ต้นไม้นั้นพระพุทธเจ้าทรงประทาน
พระศาสดาทรงปรารภเรื่องที่พระไปตัดต้นไม้นี้
จึงทรงบัญญัติภูตคามสิกขาบท*
ห้ามพระตัดต้นไม้ตั้งแต่นั้นมา
--------------------------------------
*สิกขาบทที่ ๑ แห่งภูตคามวรรค ปาจิตตียภัณฑ์
ดู นวโกวาท พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส – ว.ศ.
แสดงความคิดเห็น
"มือปราบสัมภเวสี" ที่เปิดศึกกับผีจำนวนมากๆ เค้าเอาอยู่ได้ยังไงครับ? และเค้าเก่งจริงทั้งตอนเป็นและตอนตายเลยป่ะครับ?
แต่เนื่องจากมันผุแล้ว ผมก็เลยเอาพวกตุ๊กตา เศษไม้ไปทิ้ง และคืนนั้นก็มีคนมาเข้าฝัน
มันเหมือนจริงมาก เค้ามาเหมือนกับจะดึงเราไปอยู่ด้วยเลยน่ะครับ แต่ผมสวดมนต์ตอนเค้ามาหา เลยรอดมาได้
(สถานการณ์ตอนนั้นหลุดออกมายากมากเลยครับ)
นี่แค่ศาลเดียวนะครับ แต่พวกมือปราบสัมภเวสีที่เค้าไปรื้อศาล ไปทุบศาลมากมาย เค้าเอาอยู่ได้ยังไงครับ
ตอนกลางคืนเค้าจะหลับลงหรือ และตอนเป็นเค้าอาจจะมีอำนาจจิตเหนือกว่าผี แต่ตอนตายเค้ายังเก่งเหนือกว่าผีอยู่มั้ยครับ?