The Cave นางนอน
ฉายเปิดตัวรอบแรกในเทศกาลหนังปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ และนอกจากนี้ยังเดินสายฉายในเทศกาลภาพยนตร์ในหลายประเทศ เช่น แคนาดา,ฟิลิปปินส์,ออสเตเลีย และฟินแลนด์
กำกับภาพยนตร์โดย Tom Waller ที่เคยสร้างผลงานระดับรางวัลเรื่อง (ศพไม่เงียบ) และยังเป็นผู้กำกับ MV เพลง El Nin Yo ของทาทายัง
รีวิวโดยการแปลจากบทความ ผู้ชอบภาพยนตร์ในประเทศเกาหลีใต้
+ ภาพยนตร์มุ่งเน้นไปที่ภาระกิจการช่วยเหลือมากกว่ามุมมองของเด็กที่ติดอยู่ในถ้ำ และไม่ค่อยกล่างถึงครอบครัวของเด็กๆเลย ทั้งนี้อาจเกี่ยวเนื่องมาจากสิทธิการคุมครองเด็กที่ถูกควบคุมไว้ แต่มันไม่ใช่กุญแจหลักของภาพยนตร์ เพราะผลลัพท์ของมันคือความสุขหลังจากได้ช่วยเหลือเด็กๆ และโค้ชออกมาได้อย่างปลอดภัย
+ ต้นเหตุของเรื่องหนังเล่าเพียงคร่าวๆ คือเด็กๆและโค้ชได้ทำการเล่นฟุตบอล 2-3 นัด หลังจากนั้นพวกเขาก็ปั่นจักรยานขึ้นบนเขาเพื่อสำรวจถ้า
+ ภาพยนตร์มีการเล่าเรื่องเกี่ยวกับการติดต่อประสานงานขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ (โดยรวมแล้วการเล่าเรื่องจะเล่าถึงกระบวนการช่วยเหลือภาคพื้นดินซะเป็นส่วนใหญ่)
+ ในภาพยนตร์มีบุคคลที่อยู่ในทีมกู้ภัยร่วมแสดงด้วย ที่โดดเด่นคือนักประดาน้ำชาวไอริช หนังได้พูดถึงการเดินทางและการดำน้ำของเขา ปมในใจเกี่ยวกับการสูญเสียเพื่อนสนิดที่เสียชีวิตจากการดำน้ำในถ้ำ นอกจากนี้หนังยังเล่าถึงทีมกู้ภัยที่เสียชีวิต 1 นาย ได้อย่างมีเกรียศ (ทำเอาฉันขนลุกเลย)
+ ในหนังยังเล่าถึงเครื่องสูบน้ำ และการประสานงานของหน่วยราชการที่ล่าช้า กลายเป็นดราม่าเล็กๆ ให้เป็นสีสันในภาพยนตร์ โดยรวมภาพยนตร์ทำออกมาได้ดีเลย ฉันเป็นคนต่างชาติยังอินกับภาพยนตร์ได้ขนาดนี้ ฉันคิดว่าคนในประเทศไทยคงชื่นชอบและชื่นชมปฏิบัติการกู้ภัยในครั้งนี้
ติดตามรีวิวต่อได้ที่
รีวิว THE CAVE นางนอน (จากผู้ชมเทศกาลหนังปูซาน)
ฉายเปิดตัวรอบแรกในเทศกาลหนังปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ และนอกจากนี้ยังเดินสายฉายในเทศกาลภาพยนตร์ในหลายประเทศ เช่น แคนาดา,ฟิลิปปินส์,ออสเตเลีย และฟินแลนด์
กำกับภาพยนตร์โดย Tom Waller ที่เคยสร้างผลงานระดับรางวัลเรื่อง (ศพไม่เงียบ) และยังเป็นผู้กำกับ MV เพลง El Nin Yo ของทาทายัง
รีวิวโดยการแปลจากบทความ ผู้ชอบภาพยนตร์ในประเทศเกาหลีใต้
+ ภาพยนตร์มุ่งเน้นไปที่ภาระกิจการช่วยเหลือมากกว่ามุมมองของเด็กที่ติดอยู่ในถ้ำ และไม่ค่อยกล่างถึงครอบครัวของเด็กๆเลย ทั้งนี้อาจเกี่ยวเนื่องมาจากสิทธิการคุมครองเด็กที่ถูกควบคุมไว้ แต่มันไม่ใช่กุญแจหลักของภาพยนตร์ เพราะผลลัพท์ของมันคือความสุขหลังจากได้ช่วยเหลือเด็กๆ และโค้ชออกมาได้อย่างปลอดภัย
+ ต้นเหตุของเรื่องหนังเล่าเพียงคร่าวๆ คือเด็กๆและโค้ชได้ทำการเล่นฟุตบอล 2-3 นัด หลังจากนั้นพวกเขาก็ปั่นจักรยานขึ้นบนเขาเพื่อสำรวจถ้า
+ ภาพยนตร์มีการเล่าเรื่องเกี่ยวกับการติดต่อประสานงานขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ (โดยรวมแล้วการเล่าเรื่องจะเล่าถึงกระบวนการช่วยเหลือภาคพื้นดินซะเป็นส่วนใหญ่)
+ ในภาพยนตร์มีบุคคลที่อยู่ในทีมกู้ภัยร่วมแสดงด้วย ที่โดดเด่นคือนักประดาน้ำชาวไอริช หนังได้พูดถึงการเดินทางและการดำน้ำของเขา ปมในใจเกี่ยวกับการสูญเสียเพื่อนสนิดที่เสียชีวิตจากการดำน้ำในถ้ำ นอกจากนี้หนังยังเล่าถึงทีมกู้ภัยที่เสียชีวิต 1 นาย ได้อย่างมีเกรียศ (ทำเอาฉันขนลุกเลย)
+ ในหนังยังเล่าถึงเครื่องสูบน้ำ และการประสานงานของหน่วยราชการที่ล่าช้า กลายเป็นดราม่าเล็กๆ ให้เป็นสีสันในภาพยนตร์ โดยรวมภาพยนตร์ทำออกมาได้ดีเลย ฉันเป็นคนต่างชาติยังอินกับภาพยนตร์ได้ขนาดนี้ ฉันคิดว่าคนในประเทศไทยคงชื่นชอบและชื่นชมปฏิบัติการกู้ภัยในครั้งนี้
ติดตามรีวิวต่อได้ที่