School-based management (SBM) in Thailand began in 1997 in the course of a reform aimed at overcoming a profound crisis in the education system. The present contribution reports on the introduction and institutionalisation of decentralisation and SBM with community participation in Thailand.During His Excellency Mr.Sukavich Rangsitpol Administration (1995-1997)
https://link.springer.com/article/10.1007/s11159-004-2624-4
ประเทศไทยเริ่มการใช้ การบริหารโรงเรียนแบบนิติบุคคลหรือการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เริ่มในประเทศไทยเมื่อปี 2540 ในสมัยฯพณฯ สุขวิช รังสิตพล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
รูปแบบที่สำคัญอย่างน้อย 4 คือ
1) รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) ผู้บริหารเป็นประธานคณะกรรมการ ส่วนกรรมการอื่น ๆ ได้จากการเลือกตั้งหรือคัดเลือกจากกลุ่มผู้ปกครอง ครู และชุมชน คณะกรรมการมีบทบาทให้คำปรึกษา แต่อำนาจการตัดสินใจยังคงอยู่ที่ผู้บริหารโรงเรียน
2) รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) เกิดจากแนวคิดที่ว่า ครูเป็นผู้ใกล้ชิดนักเรียนมากที่สุด ย่อมรู้ปัญหาได้ดีกว่าและสามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุด ตัวแทนคณะครูจะมีสัดส่วนมากที่สุดในคณะกรรมการโรงเรียน ผู้บริหารยังเป็นประธานคณะกรรมการโรงเรียน บทบาทของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร
3) รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control SBM) แนวคิดสำคัญ คือ การจัดการศึกษาควรตอบสนองความต้องการและค่านิยมของผู้ปกครองและชุมชนมากที่สุด ตัวแทนของผู้ปกครอง และชุมชนจึงมีสัดส่วนในคณะกรรมการโรงเรียนมากที่สุด ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชนเป็นประธานคณะกรรมการ โดยมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นกรรมการและเลขานุการ บทบาท หน้าที่ของคณะกรรมการ โรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร
4) รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) แนวคิดเรื่องนี้เชื่อว่า ทั้งครูและผู้ปกครองต่างมีความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก เนื่องจากทั้ง 2 กลุ่มต่างอยู่ใกล้ชิดนักเรียนมากที่สุด รับรู้ปัญหาและความต้องการได้ดีที่สุด สัดส่วนของครูและผู้ปกครอง (ชุมชน) ในคณะกรรมการโรงเรียนจะมีเท่า ๆ กันแต่มากกว่าตัวแทนกลุ่มอื่น ๆ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร
ผลจากการกระจายงบประมาณ เพื่อปฏิรูปการศึกษาแบบชุมชนมีส่วนร่วม
http://nadoon.msu.ac.th/~isan/isan/cps4011.pdf
ทำให้รายได้ประชาชนโดยรวมในภาคอีสาน เพิ่มขึ้น ตามบันทึกของธนาคารโลกและองค์กรยูเนสโก ประมาณ ร้อยละ46 ในปี 2539ถึง 2546 และ คนจนลดลงจากร้อยละ 21.3 เหลือ ร้อยละ 11.3 โดยเริ่มลดลงต่อเนื่องระหว่างปี 2539ถึง2549 แม้ว่าประเทศไทยเกิด วิกฤติการต้มยำกุ้ง ในปี 2540
https://web.archive.org/web/20110719090712/http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/gpp/GPP%201995-2006.zip
http://documents.worldbank.org/curated/en/605431468777588612/text/multi-page.txt
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000108623?posInSet=8&queryId=fc001719-4b80-49fe-9ebd-293befefd4a9
โรงเรียนนิติบุคคล
https://link.springer.com/article/10.1007/s11159-004-2624-4
ประเทศไทยเริ่มการใช้ การบริหารโรงเรียนแบบนิติบุคคลหรือการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เริ่มในประเทศไทยเมื่อปี 2540 ในสมัยฯพณฯ สุขวิช รังสิตพล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
รูปแบบที่สำคัญอย่างน้อย 4 คือ
1) รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) ผู้บริหารเป็นประธานคณะกรรมการ ส่วนกรรมการอื่น ๆ ได้จากการเลือกตั้งหรือคัดเลือกจากกลุ่มผู้ปกครอง ครู และชุมชน คณะกรรมการมีบทบาทให้คำปรึกษา แต่อำนาจการตัดสินใจยังคงอยู่ที่ผู้บริหารโรงเรียน
2) รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) เกิดจากแนวคิดที่ว่า ครูเป็นผู้ใกล้ชิดนักเรียนมากที่สุด ย่อมรู้ปัญหาได้ดีกว่าและสามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุด ตัวแทนคณะครูจะมีสัดส่วนมากที่สุดในคณะกรรมการโรงเรียน ผู้บริหารยังเป็นประธานคณะกรรมการโรงเรียน บทบาทของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร
3) รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control SBM) แนวคิดสำคัญ คือ การจัดการศึกษาควรตอบสนองความต้องการและค่านิยมของผู้ปกครองและชุมชนมากที่สุด ตัวแทนของผู้ปกครอง และชุมชนจึงมีสัดส่วนในคณะกรรมการโรงเรียนมากที่สุด ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชนเป็นประธานคณะกรรมการ โดยมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นกรรมการและเลขานุการ บทบาท หน้าที่ของคณะกรรมการ โรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร
4) รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) แนวคิดเรื่องนี้เชื่อว่า ทั้งครูและผู้ปกครองต่างมีความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก เนื่องจากทั้ง 2 กลุ่มต่างอยู่ใกล้ชิดนักเรียนมากที่สุด รับรู้ปัญหาและความต้องการได้ดีที่สุด สัดส่วนของครูและผู้ปกครอง (ชุมชน) ในคณะกรรมการโรงเรียนจะมีเท่า ๆ กันแต่มากกว่าตัวแทนกลุ่มอื่น ๆ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร
ผลจากการกระจายงบประมาณ เพื่อปฏิรูปการศึกษาแบบชุมชนมีส่วนร่วม http://nadoon.msu.ac.th/~isan/isan/cps4011.pdf
ทำให้รายได้ประชาชนโดยรวมในภาคอีสาน เพิ่มขึ้น ตามบันทึกของธนาคารโลกและองค์กรยูเนสโก ประมาณ ร้อยละ46 ในปี 2539ถึง 2546 และ คนจนลดลงจากร้อยละ 21.3 เหลือ ร้อยละ 11.3 โดยเริ่มลดลงต่อเนื่องระหว่างปี 2539ถึง2549 แม้ว่าประเทศไทยเกิด วิกฤติการต้มยำกุ้ง ในปี 2540
https://web.archive.org/web/20110719090712/http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/gpp/GPP%201995-2006.zip
http://documents.worldbank.org/curated/en/605431468777588612/text/multi-page.txt
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000108623?posInSet=8&queryId=fc001719-4b80-49fe-9ebd-293befefd4a9