เวลาดูหนังฝรั่ง.ที่มีฉากแต่งงาน มักจะซึ้งกับคำสาบานที่ให้กันและกันก่อนที่จะสวมแหวน..
I, ____, take you, ____, to be my lawfully wedded (husband/wife), to have and to hold, from this day forward, for better, for worse, for richer, for poorer, in sickness and in health, until death do us part.
ผมรับคุณเป็นภรรยาที่แต่งงานตามกฎหมาย เพื่อมีกันและกัน นับจากวันนี้จนถึงวันหน้า ไม่ว่าจะดีหรือร้าย รวยหรือจน ไม่ว่าในยามเจ็บป่วยหรือมีสุขภาพดี จนกว่าความตายจะพรากเราจากกัน(แปลเองเป็นไทยไม่ค่อยซึ้งอะ)
นี่เป็นส่วนหนึ่งในพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งแน่นอนว่าไม่ได้บังคับ... แต่หากได้พูดต่อหน้ากันและกัน คงรู้สึกปลื้มปลิ่มไม่น้อย... แต่หลังจากนั้น จะปฎิบัติตามคำมั่นหรือเปล่า จะมีการทะเลาะหรือมีการเลิกราหรือไม่... อันนี้มีข้อสังเกตุ ว่า คำปฎิญาณข้างต้น ยังขาดเกี่ยวกับ ึความเข้าใจซึ่งกันและกัน.. การเลิกกันหรือทะเลาะกันก็ใช่ว่าไม่ทำตามคำปฎิญาณ...
ทีนี้นึกถึง ตอนท่านนายก ทำการถวายสัตย์ต่อพระมหากษัตย์ ซึ่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 161 ระบุว่า
..........................
ก่อนเข้ารับหน้าที่ รัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”
ในกรณีที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้คณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนที่จะถวายสัตย์ปฏิญาณ ให้คณะรัฐมนตรีนั้นดำเนินการตามมาตรา 162 วรรคสองได้ ในกรณีเช่นนี้ ให้คณะรัฐบมนตรีตามมาตรา 168 (1) พ้นจากการปฏิบัติหน้าที่นับแต่วันที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมดังกล่าว
.......................
หากมีการระบุว่า ต้อง.. และถ้อยคำที่ต้องกล่าวล้วนมีความหมาย หากกล่าวปฎิญาณตกหล่นไป จะถือว่าจะไม่ทำตามข้อปฎิญาณที่พึงมีทั้งหมดหรือไม่ และการปฎิบัติหน้าที่จะทำบนพื้นฐานคำปฎิญาณที่ไม่ครบสมบูรณ์หรือเปล่า
คำสัตย์สาบาน ปฎิญาน สำคัญจริงหรือ
I, ____, take you, ____, to be my lawfully wedded (husband/wife), to have and to hold, from this day forward, for better, for worse, for richer, for poorer, in sickness and in health, until death do us part.
ผมรับคุณเป็นภรรยาที่แต่งงานตามกฎหมาย เพื่อมีกันและกัน นับจากวันนี้จนถึงวันหน้า ไม่ว่าจะดีหรือร้าย รวยหรือจน ไม่ว่าในยามเจ็บป่วยหรือมีสุขภาพดี จนกว่าความตายจะพรากเราจากกัน(แปลเองเป็นไทยไม่ค่อยซึ้งอะ)
นี่เป็นส่วนหนึ่งในพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งแน่นอนว่าไม่ได้บังคับ... แต่หากได้พูดต่อหน้ากันและกัน คงรู้สึกปลื้มปลิ่มไม่น้อย... แต่หลังจากนั้น จะปฎิบัติตามคำมั่นหรือเปล่า จะมีการทะเลาะหรือมีการเลิกราหรือไม่... อันนี้มีข้อสังเกตุ ว่า คำปฎิญาณข้างต้น ยังขาดเกี่ยวกับ ึความเข้าใจซึ่งกันและกัน.. การเลิกกันหรือทะเลาะกันก็ใช่ว่าไม่ทำตามคำปฎิญาณ...
ทีนี้นึกถึง ตอนท่านนายก ทำการถวายสัตย์ต่อพระมหากษัตย์ ซึ่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 161 ระบุว่า
..........................
ก่อนเข้ารับหน้าที่ รัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคำดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ”
ในกรณีที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้คณะรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนที่จะถวายสัตย์ปฏิญาณ ให้คณะรัฐมนตรีนั้นดำเนินการตามมาตรา 162 วรรคสองได้ ในกรณีเช่นนี้ ให้คณะรัฐบมนตรีตามมาตรา 168 (1) พ้นจากการปฏิบัติหน้าที่นับแต่วันที่โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมดังกล่าว
.......................
หากมีการระบุว่า ต้อง.. และถ้อยคำที่ต้องกล่าวล้วนมีความหมาย หากกล่าวปฎิญาณตกหล่นไป จะถือว่าจะไม่ทำตามข้อปฎิญาณที่พึงมีทั้งหมดหรือไม่ และการปฎิบัติหน้าที่จะทำบนพื้นฐานคำปฎิญาณที่ไม่ครบสมบูรณ์หรือเปล่า