" ธรรมอันเป็นกุศล เป็นไฉน ? "
" ธรรมอันเป็นกุศล คือในสมัยใด จิตอันเป็นกุศลฝ่ายกามาวจร๒( ท่องเที่ยวไปในกาม )
ประกอบด้วยโสมนัส ( ความดีใจ ) ประกอบด้วยญาณ เกิดขึ้น ปรารภ อารมณ์ คือ
รูป หรือเสียง หรือกลิ่น หรือรส หรือโผฏฐัพพะ ( สิ่งที่ถูกต้องได้ ) หรือธรรมะ ( สิ่งที่รู้ได้ด้วยใจ ),
ในสมัยนั้นย่อม มี ( ธรรมะ ๕๖ อย่าง ) คือ :-
๑. ผัสสะ ( ความถูกต้อง )
๒. เวทนา ( ความรู้สึกอารมณ์ว่า เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุข )
๓. สัญญา ( ความจำได้หมายรู้ )
๔. เจตนา ( ความจงใจ )
๕. จิตตะ ( จิต)
๖. วิตก ( ความตรึก)
๗. วิจาร ( ความตรอง )
๘. ปีติ ( ความอิ่มใจ )
๙. สุข ( ความสบายใจ, ในที่นี้ไม่หมายเอาสุขกาย )
๑๐. จิตตัสส เอกัคคตา ( ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง )
๑๑. สัทธินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือความเชื่อ )
๑๒. วิริยินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือความเพียร )
๑๓. สตินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือสติ )
๑๔. สมาธินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือสมาธิ )
๑๕. ปัญญินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือปัญญา )
๑๖. มนินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือใจ )
๑๗. โสมนัสสินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือความสุขใจ )
๑๘. ชีวิตินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือชีวิตความเป็นอยู่ )
๑๙. สัมมาทิฏฐิ ( ความเห็นชอบ คือเห็นอริยสัจจ์ ๔ )
๒๐. สัมมาสังกัปปะ ( ความดำริชอบ )
๒๑. สัมมาวายามะ ( ความพยายามชอบ )
๒๒. สัมมาสติ ( ความระลึกชอบ )
๒๓. สัมมาสมาธิ ( ความตั้งใจมั่นชอบ )
๒๔. สัทธาพละ ( กำลังคือความเชื่อ )
๒๕. วิริยพละ ( กำลังคือความเพียร )
๒๖. สติพละ ( กำลังคือสติ )
๒๗. สมาธิพละ ( กำลังคือสมาธิ )
๒๘. ปัญญาพละ ( กำลังคือปัญญา )
๒๙. หิรีพละ ( กำลังคือความละอายต่อบาป )
๓๐. โอตตัปปพละ ( กำลังคือความเกรงกลัวต่อบาป )
๓๑. อโลภะ ( ความไม่โลภ )
๓๒. อโทสะ ( ความคิดประทุษร้าย )
๓๓. อโมหะ ( ความไม่หลง )
๓๔. อนภิชฌา ( ความไม่โลภ ชนิดนึกน้อมมาเป็นของตน )
๓๕. อัพยาบาท ( ความไม่คิดปองร้าย ชนิดนึกให้ผู้อื่นพินาศ )
๓๖. สัมมาทิฏฐิ ( ความเห็นชอบแบบทั่ว ๆ ไป เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี )
๓๗. หิริ ( ความละอายต่อบาป ) ๓๘. โอตตัปปะ ( ความเกรงกลัวต่อบาป )
๓๙. กายปัสสัทธิ ( ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๐. จิตตปัสสัทธิ ( ความสงบระงับแห่งจิต )
๔๑. กายลหุตา ( ความเบาแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๒. จิตตลหุตา ( ความเบาแห่งจิต )
๔๓. กายมุทุตา ( ความอ่อนสลวยแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๔. จิตตมุทุตา ( ความอ่อนสลวยแห่งจิต )
๔๕. กายกัมมัญญตา ( ความควรแก่การงานแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๖. จิตตกัมมัญญตา ( ความควรแก่การงานแห่งจิต )
๔๗. กายปาคุญญตา ( ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๘. จิตตปาคุญญตา ( ความคล่องแคล่วแห่งจิต )
๔๙. กายุชุกตา ( ความตรง ไม่คดโกงแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๕๐. จิตตุชุกตา ( ความตรง ไม่คดโกงแห่งจิต )
๕๑. สติ ( ความระลึกได้ )
๕๒. สัมปชัญญะ ( ความรู้ตัว )
๕๓. สมถะ ( ความสงบแห่งจิต )
๕๔. วิปัสสนา ( ความเห็นแจ้ง )
๕๕. ปัคคาหะ ( ความเพียรทางจิต )
๕๖. อวิกเขปะ ( ความไม่ซัดส่าย คือความตั้งมั่นแห่งจิต )
" อนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด แม้อื่น ที่ไม่มีรูปอิงอาศัยกันเกิดขึ้นมีอยู่. ธรรมเหล่านี้ ชื่อว่ากุศล. "
จิตในพระสูตร
" ธรรมอันเป็นกุศล คือในสมัยใด จิตอันเป็นกุศลฝ่ายกามาวจร๒( ท่องเที่ยวไปในกาม )
ประกอบด้วยโสมนัส ( ความดีใจ ) ประกอบด้วยญาณ เกิดขึ้น ปรารภ อารมณ์ คือ
รูป หรือเสียง หรือกลิ่น หรือรส หรือโผฏฐัพพะ ( สิ่งที่ถูกต้องได้ ) หรือธรรมะ ( สิ่งที่รู้ได้ด้วยใจ ),
ในสมัยนั้นย่อม มี ( ธรรมะ ๕๖ อย่าง ) คือ :-
๑. ผัสสะ ( ความถูกต้อง )
๒. เวทนา ( ความรู้สึกอารมณ์ว่า เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุข )
๓. สัญญา ( ความจำได้หมายรู้ )
๔. เจตนา ( ความจงใจ )
๕. จิตตะ ( จิต)
๖. วิตก ( ความตรึก)
๗. วิจาร ( ความตรอง )
๘. ปีติ ( ความอิ่มใจ )
๙. สุข ( ความสบายใจ, ในที่นี้ไม่หมายเอาสุขกาย )
๑๐. จิตตัสส เอกัคคตา ( ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง )
๑๑. สัทธินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือความเชื่อ )
๑๒. วิริยินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือความเพียร )
๑๓. สตินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือสติ )
๑๔. สมาธินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือสมาธิ )
๑๕. ปัญญินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือปัญญา )
๑๖. มนินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือใจ )
๑๗. โสมนัสสินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือความสุขใจ )
๑๘. ชีวิตินทรีย์ ( ธรรมอันเป็นใหญ่คือชีวิตความเป็นอยู่ )
๑๙. สัมมาทิฏฐิ ( ความเห็นชอบ คือเห็นอริยสัจจ์ ๔ )
๒๐. สัมมาสังกัปปะ ( ความดำริชอบ )
๒๑. สัมมาวายามะ ( ความพยายามชอบ )
๒๒. สัมมาสติ ( ความระลึกชอบ )
๒๓. สัมมาสมาธิ ( ความตั้งใจมั่นชอบ )
๒๔. สัทธาพละ ( กำลังคือความเชื่อ )
๒๕. วิริยพละ ( กำลังคือความเพียร )
๒๖. สติพละ ( กำลังคือสติ )
๒๗. สมาธิพละ ( กำลังคือสมาธิ )
๒๘. ปัญญาพละ ( กำลังคือปัญญา )
๒๙. หิรีพละ ( กำลังคือความละอายต่อบาป )
๓๐. โอตตัปปพละ ( กำลังคือความเกรงกลัวต่อบาป )
๓๑. อโลภะ ( ความไม่โลภ )
๓๒. อโทสะ ( ความคิดประทุษร้าย )
๓๓. อโมหะ ( ความไม่หลง )
๓๔. อนภิชฌา ( ความไม่โลภ ชนิดนึกน้อมมาเป็นของตน )
๓๕. อัพยาบาท ( ความไม่คิดปองร้าย ชนิดนึกให้ผู้อื่นพินาศ )
๓๖. สัมมาทิฏฐิ ( ความเห็นชอบแบบทั่ว ๆ ไป เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี )
๓๗. หิริ ( ความละอายต่อบาป ) ๓๘. โอตตัปปะ ( ความเกรงกลัวต่อบาป )
๓๙. กายปัสสัทธิ ( ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๐. จิตตปัสสัทธิ ( ความสงบระงับแห่งจิต )
๔๑. กายลหุตา ( ความเบาแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๒. จิตตลหุตา ( ความเบาแห่งจิต )
๔๓. กายมุทุตา ( ความอ่อนสลวยแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๔. จิตตมุทุตา ( ความอ่อนสลวยแห่งจิต )
๔๕. กายกัมมัญญตา ( ความควรแก่การงานแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๖. จิตตกัมมัญญตา ( ความควรแก่การงานแห่งจิต )
๔๗. กายปาคุญญตา ( ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๔๘. จิตตปาคุญญตา ( ความคล่องแคล่วแห่งจิต )
๔๙. กายุชุกตา ( ความตรง ไม่คดโกงแห่งกองเวทนา, สัญญา, สังขาร )
๕๐. จิตตุชุกตา ( ความตรง ไม่คดโกงแห่งจิต )
๕๑. สติ ( ความระลึกได้ )
๕๒. สัมปชัญญะ ( ความรู้ตัว )
๕๓. สมถะ ( ความสงบแห่งจิต )
๕๔. วิปัสสนา ( ความเห็นแจ้ง )
๕๕. ปัคคาหะ ( ความเพียรทางจิต )
๕๖. อวิกเขปะ ( ความไม่ซัดส่าย คือความตั้งมั่นแห่งจิต )
" อนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด แม้อื่น ที่ไม่มีรูปอิงอาศัยกันเกิดขึ้นมีอยู่. ธรรมเหล่านี้ ชื่อว่ากุศล. "