สัญญา ๑๐ ประการ ....
อนิจจสัญญา
อนัตตสัญญา
อสุภสัญญา
อาทีนวสัญญา
ปหานสัญญา
วิราคสัญญา
นิโรธสัญญา
สัพพโลเกอนภิรตสัญญา
สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา
อานาปานัสสติ
1. อนิจจสัญญา พิจรณา รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง
สัญญาไม่เที่ยง สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง
ไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์ ๕ .......
2. อนัตตสัญญา พิจรณา ไม่เทื่ยง ว่างเป็นธรรมที่มีความดับเป็นปกติธรรมดา
1. จักษุเป็นอนัตตา
2. รูปเป็นอนัตตา
3. หูเป็นอนัตตา
4. เสียงเป็นอนัตตา
5. จมูกเป็นอนัตตา
6. กลิ่นเป็นอนัตตา
7. ลิ้นเป็นอนัตตา
8. รสเป็นอนัตตา
9. กายเป็นอนัตตา
10. โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา
11. ใจเป็นอนัตตา
12. ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา
อยัตตาทั้งภายในและภายนอก
3. อสุภสัญญา. พิจรณา ร่างกาย ความจริง สุดท้าย ก็เป็นสิ่งสกปรก เน่า เหม็น ผุพังศูนย์สลายไปไม่มีค่ามีราคา มีความไม่เทืยงเป็นธรรมดา
4.อทินวสัญญา. พิจรณา เหตุเเห่งทุก. โรคภัย ไข้เจ็บ (ทุกข์) ปวดส่วนต่างๆในร่างกาย ปวดหนักเบา (ทุกข์) คิดวิตก กังวนไม่ได้สิ่งที่ต้องการ (ทุกข์) เหตุจากไม่เทืยง หลงเวทนา อุปปาทาน ขันธ์5 (ทุกข์) เกิด แก่ เจ็บ ตาย (ทุกข์)
5.ปหานสัญญา .พิจรณา ละ บรรเทา ทำให้สิ้น ความวิตก ความกังวน อารมต่างๆของอารม
6.วิราดสัญญา.พิจรณา เมื่อเห็นความจริงเมื่อรู้เหตุเเห่งทุกเเล้ว ก็ละงับธิถิ ละทิ้งกิเลส ความอยาก เหตุทุก ละกิเลสเเละดับทุก
7.นิโรธ สัญญา พิจรณา ปฎิบัต ชำระล้างจิตใจ ให้เข้าถึง ธรรมชาติความจริงที่เป็นปัจจุบันในความสงบเป็นปกติ โดยทีไม่มีปัจจัยเหตุมาปรุงเเต่ง
8. สัพพโลเกอนภิรตสัญญา พิจรณา. ละอุบาย อุปาทาน ละความอยาก ความยึดมั้นถือมั้นที่มี ออกไป
9. กะตะมา จานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะ สัญญา พิจารณา. ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชังแต่สังขารทั้งปวง เห็น อนิจจในสังขาลไม่เทื่ยง
* อานาปานัสสติ* สติปัฏฐาน วิธี ภาวนา วิปัสสนา โดยวิธีเข้า กรรมฐาน คือ โดยยึดเอาเหตุในสัญญาทั้งหลายตั้งเป็นฐานของกรรม (ปฎิบัต กระทำ กรรม) เเล้ววิปัสสนา ตามขั้นลำดับลงมาตั้งเเต่ สัญญา1ตามลำดับถึง9 ด้วยสติรับรู้ควา.จริงจนเกิดปัญญาเห็นถูก กำหนดรู้ได้เเค่ไหน จากการฝึกภาวนา ตั้งสติไว้กับปัจจุบัน# กำหนดลมหายใจ เข้า ออก รับรู้ลมหายใจปกติ /กำหนดลมหายใจเข้ายาว รับรู้ในกาย เเล้วหายใจออก/. กำหนดลมหายใจเข้าออกสั้นยาวละงับลมหายใจเป็นจังหวะ รับรู้ถึงกายหยุดของกาย/ เเล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจ สติรับรู้ ปิติสุข/เกิดจากความไม่เทื่ยง(จากตรงนี้ไปได้เเค่ไหนขึ้นอยู่กับบารมีของผู้ปฎิบัตว่าจะสำเร็จเข้าถึงได้เเค่ไหน) จนถึงสติรับรู้อัตโนมัต รับรู้ลมหายใจเข้าออกปกติ รับรู้อารมปกติ รับรู้สัญญาญทั้ง9 ถึงความเป็นปกติ. ของความไม่เทืยง ในธรรมชาติทั้งหลาย. จนเกิดปัญญา เห็นถูก ละ วาง ดับ และสติกลับมาตั้งรับรู้ปิดทางไหลย้อยกลับไว้เฉยๆ เป็นอุเบกขา ตามเหตุและผลของสัจจธรรมความจริงทั้งหลาย
พิจรณา สัญญา 10ประการ
อนิจจสัญญา
อนัตตสัญญา
อสุภสัญญา
อาทีนวสัญญา
ปหานสัญญา
วิราคสัญญา
นิโรธสัญญา
สัพพโลเกอนภิรตสัญญา
สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา
อานาปานัสสติ
1. อนิจจสัญญา พิจรณา รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง
สัญญาไม่เที่ยง สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง
ไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์ ๕ .......
2. อนัตตสัญญา พิจรณา ไม่เทื่ยง ว่างเป็นธรรมที่มีความดับเป็นปกติธรรมดา
1. จักษุเป็นอนัตตา
2. รูปเป็นอนัตตา
3. หูเป็นอนัตตา
4. เสียงเป็นอนัตตา
5. จมูกเป็นอนัตตา
6. กลิ่นเป็นอนัตตา
7. ลิ้นเป็นอนัตตา
8. รสเป็นอนัตตา
9. กายเป็นอนัตตา
10. โผฏฐัพพะเป็นอนัตตา
11. ใจเป็นอนัตตา
12. ธรรมารมณ์เป็นอนัตตา
อยัตตาทั้งภายในและภายนอก
3. อสุภสัญญา. พิจรณา ร่างกาย ความจริง สุดท้าย ก็เป็นสิ่งสกปรก เน่า เหม็น ผุพังศูนย์สลายไปไม่มีค่ามีราคา มีความไม่เทืยงเป็นธรรมดา
4.อทินวสัญญา. พิจรณา เหตุเเห่งทุก. โรคภัย ไข้เจ็บ (ทุกข์) ปวดส่วนต่างๆในร่างกาย ปวดหนักเบา (ทุกข์) คิดวิตก กังวนไม่ได้สิ่งที่ต้องการ (ทุกข์) เหตุจากไม่เทืยง หลงเวทนา อุปปาทาน ขันธ์5 (ทุกข์) เกิด แก่ เจ็บ ตาย (ทุกข์)
5.ปหานสัญญา .พิจรณา ละ บรรเทา ทำให้สิ้น ความวิตก ความกังวน อารมต่างๆของอารม
6.วิราดสัญญา.พิจรณา เมื่อเห็นความจริงเมื่อรู้เหตุเเห่งทุกเเล้ว ก็ละงับธิถิ ละทิ้งกิเลส ความอยาก เหตุทุก ละกิเลสเเละดับทุก
7.นิโรธ สัญญา พิจรณา ปฎิบัต ชำระล้างจิตใจ ให้เข้าถึง ธรรมชาติความจริงที่เป็นปัจจุบันในความสงบเป็นปกติ โดยทีไม่มีปัจจัยเหตุมาปรุงเเต่ง
8. สัพพโลเกอนภิรตสัญญา พิจรณา. ละอุบาย อุปาทาน ละความอยาก ความยึดมั้นถือมั้นที่มี ออกไป
9. กะตะมา จานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะ สัญญา พิจารณา. ย่อมอึดอัด ย่อมระอา ย่อมเกลียดชังแต่สังขารทั้งปวง เห็น อนิจจในสังขาลไม่เทื่ยง
* อานาปานัสสติ* สติปัฏฐาน วิธี ภาวนา วิปัสสนา โดยวิธีเข้า กรรมฐาน คือ โดยยึดเอาเหตุในสัญญาทั้งหลายตั้งเป็นฐานของกรรม (ปฎิบัต กระทำ กรรม) เเล้ววิปัสสนา ตามขั้นลำดับลงมาตั้งเเต่ สัญญา1ตามลำดับถึง9 ด้วยสติรับรู้ควา.จริงจนเกิดปัญญาเห็นถูก กำหนดรู้ได้เเค่ไหน จากการฝึกภาวนา ตั้งสติไว้กับปัจจุบัน# กำหนดลมหายใจ เข้า ออก รับรู้ลมหายใจปกติ /กำหนดลมหายใจเข้ายาว รับรู้ในกาย เเล้วหายใจออก/. กำหนดลมหายใจเข้าออกสั้นยาวละงับลมหายใจเป็นจังหวะ รับรู้ถึงกายหยุดของกาย/ เเล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจ สติรับรู้ ปิติสุข/เกิดจากความไม่เทื่ยง(จากตรงนี้ไปได้เเค่ไหนขึ้นอยู่กับบารมีของผู้ปฎิบัตว่าจะสำเร็จเข้าถึงได้เเค่ไหน) จนถึงสติรับรู้อัตโนมัต รับรู้ลมหายใจเข้าออกปกติ รับรู้อารมปกติ รับรู้สัญญาญทั้ง9 ถึงความเป็นปกติ. ของความไม่เทืยง ในธรรมชาติทั้งหลาย. จนเกิดปัญญา เห็นถูก ละ วาง ดับ และสติกลับมาตั้งรับรู้ปิดทางไหลย้อยกลับไว้เฉยๆ เป็นอุเบกขา ตามเหตุและผลของสัจจธรรมความจริงทั้งหลาย