คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ผู้ประกันตน จะได้เงินทดแทนประกันสังคม ต้องเข้าหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังนี้
1.ต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนการว่างงานกับนายจ้างรายสุดท้าย หรือ กรณีผู้ประกันตนว่างงานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย
2.มีระยะเวลาการว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป
3.ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (เว็บไซต์ www.empui.doe.go.th) ของสำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ลาออก หรือถูกเลิกจ้าง หรือสิ้นสุดสัญญาจ้างจึงจะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานนับแต่วันที่ 8 ของการว่างงาน
4.ต้องรายงานตัวตามกำหนดนัด ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (เว็บไซต์ www.empui.doe.go.th) ของสำนักงานจัดหางานไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
5.เป็นผู้มีความสามารถในการทำงาน และพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมตามที่จัดให้
6.ผู้ที่ว่างงาน ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกงาน
7.ผู้ที่ว่างงาน ต้องไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกรณี ดังนี้
◦ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
◦จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
◦ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายในกรณี ร้ายแรง
◦ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร
◦ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
◦ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา
◦ต้องมิใช่ผู้มีสิทธิ์ได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ
อย่าหัวหมอ ดูเงื่อนไงด้วย
เดียวจะโดนประกันสังคมตีแสกหน้ากับมา อายเค้าเปล่าๆ
1.ต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนการว่างงานกับนายจ้างรายสุดท้าย หรือ กรณีผู้ประกันตนว่างงานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย
2.มีระยะเวลาการว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป
3.ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (เว็บไซต์ www.empui.doe.go.th) ของสำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ลาออก หรือถูกเลิกจ้าง หรือสิ้นสุดสัญญาจ้างจึงจะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานนับแต่วันที่ 8 ของการว่างงาน
4.ต้องรายงานตัวตามกำหนดนัด ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (เว็บไซต์ www.empui.doe.go.th) ของสำนักงานจัดหางานไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
5.เป็นผู้มีความสามารถในการทำงาน และพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมตามที่จัดให้
6.ผู้ที่ว่างงาน ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกงาน
7.ผู้ที่ว่างงาน ต้องไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกรณี ดังนี้
◦ทุจริตต่อหน้าที่ กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
◦จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
◦ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายในกรณี ร้ายแรง
◦ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร
◦ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
◦ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษา
◦ต้องมิใช่ผู้มีสิทธิ์ได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ
อย่าหัวหมอ ดูเงื่อนไงด้วย
เดียวจะโดนประกันสังคมตีแสกหน้ากับมา อายเค้าเปล่าๆ
แสดงความคิดเห็น
นักศึกษาฝึกงาน สามารถ ขึ้นทะเบียนคนว่างงานหลังจากฝึกงานจบได้ไหม