การวิจัยตลาด (Market Research)
การวิจัยตลาด คืออะไร?
การวิจัยตลาด (Market Research) คือ กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ และรายงานข้อมูลทางการตลาดที่เกี่ยวข้องกับการขายสินค้าหรือบริการ เพื่อนำมาใช้ประกอบการวางแผนและการตัดสินใจทางการตลาดของผู้ผลิต ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้สินค้าหรือบริการของตนสามารถตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าเป้าหมายได้สุด
ท่ามกลางภาวะการแข่งขันสูงในตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลง เคลื่อนไหวตลอดเวลา การดำเนินธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์ แผนงาน กิจกรรมที่ชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับแนวโน้มสภาพความเป็นจริงของตลาด และสามารถแข่งขันได้ในธุรกิจโดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นองค์ประกอบสำคัญย่อมเป็นการสร้างโอกาสบริษัทสามารถดำเนินธุรกิจในด้านการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ที่ปรึกษางานวิจัยฯ จึงได้มีบริการให้คำปรึกษาในการดำเนินการวิจัยทางการตลาดและธุรกิจในด้านต่างๆ ทั้งส่วนประสมทางการตลาด และการขยายตลาดในธุรกิจหลักของบริษัท เช่น การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค ทัศนคติ และความพึงพอใจของลูกค้า พฤติกรรมผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัท การวิจัยสายผลิตภัณฑ์และวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ การประเมินผลการโฆษณาและส่งเสริมการขาย การวิจัยเพื่อขยายตลาดผลิตภัณฑ์ในธุรกิจหลัก การวิจัยและศึกษาความเป็นไปได้ทางธุรกิจฯ เป็นต้น พร้อมกันนั้นยังขยายไปสู่การหาแนวทางและโอกาสในสาขาธุรกิจอื่นๆ เสริมจากธุรกิจหลัก เช่น ความเหมาะสมในการขยายธุรกิจอื่นๆ นอกจากนี้ยังได้ทำการวิจัยในเชิงการบริหารองค์กร เช่น ทัศนคติของพนักงานที่มีต่อองค์กร ภาพพจน์รวมขององค์กรในทัศนะของสาธารณชน
ข้อมูลและผลการวิจัยทั้งหมดนี้ สามารถใช้ประเมินศักยภาพและความเป็นไปได้ของโครงการและกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งใช้เป็นแนวทางการกำหนดนโยบายวางแผนกลยุทธ์ดำเนินงานธุรกิจและนโยบายขององค์กรอีกด้วยเช่นกัน
สนใจติดต่อฝ่ายงานวิจัย ResearcherThailand
ทีมงานที่มีประสบการณ์ของเราจะทำหน้าที่เป็นเพื่อนคู่คิดและนำเสนอบริการต่างๆ ที่เหมาะสมกับความต้องการของธุรกิจท่าน โดยมีบริการอย่างครบวงจร ซึ่งครอบคลุม 4 บทบาทหลัก ซึ่งได้แก่
1. เป็นผู้จัดงานประชุมและอำนวยความสะดวกในการระดมความคิด (Organizer and Facilitater)
2. เป็นนักวิจัยและนักวิเคราะห์ (Research and Analyst)
3. เป็นที่ปรึกษาทางการตลาดและการวิจัย (Marketing and Research Consultant)
4. เป็นผู้ฝึกอบรมทางการตลาดและการวิจัย (Marketing and Research Trainer)
ความหมายของคำว่า "วิจัย"
การวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการอย่างมีระบบ เพื่อค้นหาสาเหตุ และศึกษาแนวทางแก้ปัญหา
การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
การวิจัยพื้นฐาน เป็นการวิจัยที่ทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาความจริง หรือแก้ปัญหา ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับทุกองค์กร หรือเป็นการวิจัยเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาการในด้านต่าง ๆ หรือเพื่อค้นคว้าศาสตร์ทางด้านวิชาการในสาขาต่าง ๆ ส่วนใหญ่การวิจัยพื้นฐานจะเป็นการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ฟิสิกส์ ฯ
การวิจัยประยุกต์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรืออาจจะเป็นการวิจัยประยุกต์ชนิดหนึ่ง เช่น การวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพหานคร การวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบการให้เกรดของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย การวิจัยธุรกิจเป็นการวิจัยประยุกต์ที่ทำกันมากในปัจจุบัน เช่นการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางของผู้หญิงไทย การวิจัยเพื่อศึกษาภาพพจน์ขององค์กรธุรกิจเออกชนต่าง ๆ ฯลฯ
ขั้นตอนการทำวิจัย
กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลของการวิจัยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ดี ถ้ามีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ชัดเจน เนื่องจากเมื่อมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน จะสามารถเลือกเทคนิควิเคราะห์ข้อมูลที่สามารถตอบวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และเขียนสรุปได้อย่างชัดเจนและสามารถนำไปใช้ได้
การเขียนวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนดังตัวอย่างข้างต้น จะช่วยให้การทำงานทุกขั้นตอนของการทำวิจัยง่ายขึ้น ตั้งแต่การเก็บข้อมูล การตั้งคำถาม และการวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
กำหนดขอบเขตที่ต้องการศึกษา
จะต้องกำหนดขอบเขตของการวิจัยให้ชัดเจนว่าจะสอบถามใครบ้าง จากขอบเขตของการวิจัยจะทำให้ทราบว่ากลุ่มเป้าหมายที่จะสอบถามและตรงตามวัตถุประสงค์ของการทำวิจัย
กำหนดแผนแบบการทำวิจัย
ระบุชนิดของข้อมูลว่าเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมเองหรือที่เรียกว่าข้อมูลปฐมภูมิ หรือจะเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้แล้วหรือที่เรียกว่าข้อมูลทุติยภูมิ หรือจะใช้ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ กรณีใช้ข้อมูลปฐมภูมิจะใช้วิธีการสำรวจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 คือ
การสำมะโน เป็นการเก็บข้อมูลจากทุกหน่วยในประชากรเป้าหมาย
การสำรวจตัวอย่าง เป็นการเก็บข้อมูลเพียงบางหน่วยของประชากรเป้าหมาย
การกำหนดแผนการเลือกหน่วยตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
แผนการเลือกตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นซึ่งมีหลายวิธีดังนี้
การเลือกตัวอย่างอย่างง่าย(Simple Random Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ(Systematic Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ(Stratified Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multi-Stage Sampling)
การเลือกพื้นที่ตัวอย่าง(Area Sampling)
ฯลฯ
แผนการเลือกตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น
การเลือกตัวอย่างตามความสะดวก(Convenience Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling)
การเลือกตัวอย่างโดยใช้วิจารณญาน(Judgement Sampling)
การทำ Focus Group
การกำหนดขนาดตัวอย่าง
ขนาดตัวอย่างสำหรับการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร (ข้อมูลเชิงปริมาณ)
การกำหนดวิธีการเก็บข้อมูล
งานวิจัยทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่ จะต้องใช้ทั้งข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุติยภูมิ สำหรับวิธีเก็บข้อมูลปฐมภูมิทำได้หลายวิธี วิธีที่นิยมใช้กันทั่วไป คือ
การสังเกตุโดยตรง(Direct Observation)
การส่งไปรษณีย์(Mail)
การเลือกที่จะใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จะจัดส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ให้กลุ่มเป้าหมาย และให้ผู้ตอบจัดส่งแบบสอบถามที่ตอบแล้วคืนมาในซองติดแสตมป์ที่สอดไปด้วย การเก็บข้อมูลวิธีนี้จะเสียค่าใช้จ่ายต่ำ แต่มักจะได้รับคำตอบคืนมาในอัตราต่ำ
การสัมภาษณ์(Interview)
การส่งพนักไปสัมภาษณ์จากกลุ่มเป้าหมายโดยตรง และพนักงานจะเป็นผู้จดคำตอบในแบบสอบถาม วิธีนี้ผู้ถาม (พนักงาน) จะมีโอกาสอธิบายเนื้อหาที่ผู้ตอบสงสัย และจะได้คำตอบรวดเร็ว แต่จะเสียค่าใช้จ่ายสูง
วิธีเก็บข้อมูลแบบอื่น ๆ
การใช้โทรศัพท์ การทอดแบบ (เป็นการนำแบบสอบถามไปให้ผู้ตอบ แล้วนัดวันมารับคืน) การชั่ง ตวง วัด หรือนับ
1. การเตรียมงานสนามหรือการเก็บข้อมูล
2. การทำ Pilot Survey
3. การเก็บข้อมูลหรืองานสนาม
4. การลงรหัสข้อมูล
5. การตรวจสอบข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
7. การเขียนรายงาน
รับทำงานวิจัย บริการงานวิจัย วิจัยตลาด การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
งานวิจัย : ในโลกปัจจุบันมีปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายหลายด้าน เช่น ปัญหาด้านการตลาด ปัญหาการแข่งขันทางด้านธุรกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาการเปลี่ยนแปลงในสังคม ฯ ซึ่งเครื่องมือที่จะช่วยในการค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ปัญหาเหล่านั้นก็คือ “การวิจัย” โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์ข้อมูล
สำหรับท่านที่กำลังพบกับปัญหาและต้องการค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ปัญหา หรือท่านที่กำลังศึกษาและต้องทำรายงาน วิจัย วิจัย งานวิจัย การวิจัย โครงงานวิจัย วิทยานิพนธ์ (thesis) ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ รับทำงานวิจัย วิจัยธุรกิจ วิจัยตลาดและผลิตภัณฑ์ รับสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์พื้นที่ ประเมินศักยภาพพื้นที่ ปรึกษาเรา เรามีนักวิชาการที่เชี่ยวชาญในด้านนี้ไว้คอยช่วยเหลือท่าน
ติดต่อสอบถามที่ 💕💕สอบถามวิจัยตลาด 093-8079091, 0961404854
ไลน์แอด @researcherth
https\://line.me/R/ti/p/%40researcherth
SAP 547 RESEARCH
#สำรวจตลาด #วิจัยตลาด #วิจัยราคา #วิจัยสินค้า#surveymarketThailand #researchmarketing#researcherthailand
#sap547research
วิจัยตลาด
การวิจัยตลาด คืออะไร?
การวิจัยตลาด (Market Research) คือ กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ และรายงานข้อมูลทางการตลาดที่เกี่ยวข้องกับการขายสินค้าหรือบริการ เพื่อนำมาใช้ประกอบการวางแผนและการตัดสินใจทางการตลาดของผู้ผลิต ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้สินค้าหรือบริการของตนสามารถตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าเป้าหมายได้สุด
ท่ามกลางภาวะการแข่งขันสูงในตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลง เคลื่อนไหวตลอดเวลา การดำเนินธุรกิจอย่างมีกลยุทธ์ แผนงาน กิจกรรมที่ชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับแนวโน้มสภาพความเป็นจริงของตลาด และสามารถแข่งขันได้ในธุรกิจโดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นองค์ประกอบสำคัญย่อมเป็นการสร้างโอกาสบริษัทสามารถดำเนินธุรกิจในด้านการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ที่ปรึกษางานวิจัยฯ จึงได้มีบริการให้คำปรึกษาในการดำเนินการวิจัยทางการตลาดและธุรกิจในด้านต่างๆ ทั้งส่วนประสมทางการตลาด และการขยายตลาดในธุรกิจหลักของบริษัท เช่น การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค ทัศนคติ และความพึงพอใจของลูกค้า พฤติกรรมผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัท การวิจัยสายผลิตภัณฑ์และวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ การประเมินผลการโฆษณาและส่งเสริมการขาย การวิจัยเพื่อขยายตลาดผลิตภัณฑ์ในธุรกิจหลัก การวิจัยและศึกษาความเป็นไปได้ทางธุรกิจฯ เป็นต้น พร้อมกันนั้นยังขยายไปสู่การหาแนวทางและโอกาสในสาขาธุรกิจอื่นๆ เสริมจากธุรกิจหลัก เช่น ความเหมาะสมในการขยายธุรกิจอื่นๆ นอกจากนี้ยังได้ทำการวิจัยในเชิงการบริหารองค์กร เช่น ทัศนคติของพนักงานที่มีต่อองค์กร ภาพพจน์รวมขององค์กรในทัศนะของสาธารณชน
ข้อมูลและผลการวิจัยทั้งหมดนี้ สามารถใช้ประเมินศักยภาพและความเป็นไปได้ของโครงการและกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งใช้เป็นแนวทางการกำหนดนโยบายวางแผนกลยุทธ์ดำเนินงานธุรกิจและนโยบายขององค์กรอีกด้วยเช่นกัน
สนใจติดต่อฝ่ายงานวิจัย ResearcherThailand
ทีมงานที่มีประสบการณ์ของเราจะทำหน้าที่เป็นเพื่อนคู่คิดและนำเสนอบริการต่างๆ ที่เหมาะสมกับความต้องการของธุรกิจท่าน โดยมีบริการอย่างครบวงจร ซึ่งครอบคลุม 4 บทบาทหลัก ซึ่งได้แก่
1. เป็นผู้จัดงานประชุมและอำนวยความสะดวกในการระดมความคิด (Organizer and Facilitater)
2. เป็นนักวิจัยและนักวิเคราะห์ (Research and Analyst)
3. เป็นที่ปรึกษาทางการตลาดและการวิจัย (Marketing and Research Consultant)
4. เป็นผู้ฝึกอบรมทางการตลาดและการวิจัย (Marketing and Research Trainer)
ความหมายของคำว่า "วิจัย"
การวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการอย่างมีระบบ เพื่อค้นหาสาเหตุ และศึกษาแนวทางแก้ปัญหา
การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
การวิจัยพื้นฐาน เป็นการวิจัยที่ทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาความจริง หรือแก้ปัญหา ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับทุกองค์กร หรือเป็นการวิจัยเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาการในด้านต่าง ๆ หรือเพื่อค้นคว้าศาสตร์ทางด้านวิชาการในสาขาต่าง ๆ ส่วนใหญ่การวิจัยพื้นฐานจะเป็นการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ฟิสิกส์ ฯ
การวิจัยประยุกต์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรืออาจจะเป็นการวิจัยประยุกต์ชนิดหนึ่ง เช่น การวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพหานคร การวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบการให้เกรดของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย การวิจัยธุรกิจเป็นการวิจัยประยุกต์ที่ทำกันมากในปัจจุบัน เช่นการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางของผู้หญิงไทย การวิจัยเพื่อศึกษาภาพพจน์ขององค์กรธุรกิจเออกชนต่าง ๆ ฯลฯ
ขั้นตอนการทำวิจัย
กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลของการวิจัยสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ดี ถ้ามีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ชัดเจน เนื่องจากเมื่อมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน จะสามารถเลือกเทคนิควิเคราะห์ข้อมูลที่สามารถตอบวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และเขียนสรุปได้อย่างชัดเจนและสามารถนำไปใช้ได้
การเขียนวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนดังตัวอย่างข้างต้น จะช่วยให้การทำงานทุกขั้นตอนของการทำวิจัยง่ายขึ้น ตั้งแต่การเก็บข้อมูล การตั้งคำถาม และการวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
กำหนดขอบเขตที่ต้องการศึกษา
จะต้องกำหนดขอบเขตของการวิจัยให้ชัดเจนว่าจะสอบถามใครบ้าง จากขอบเขตของการวิจัยจะทำให้ทราบว่ากลุ่มเป้าหมายที่จะสอบถามและตรงตามวัตถุประสงค์ของการทำวิจัย
กำหนดแผนแบบการทำวิจัย
ระบุชนิดของข้อมูลว่าเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมเองหรือที่เรียกว่าข้อมูลปฐมภูมิ หรือจะเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้แล้วหรือที่เรียกว่าข้อมูลทุติยภูมิ หรือจะใช้ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ กรณีใช้ข้อมูลปฐมภูมิจะใช้วิธีการสำรวจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 คือ
การสำมะโน เป็นการเก็บข้อมูลจากทุกหน่วยในประชากรเป้าหมาย
การสำรวจตัวอย่าง เป็นการเก็บข้อมูลเพียงบางหน่วยของประชากรเป้าหมาย
การกำหนดแผนการเลือกหน่วยตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
แผนการเลือกตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นซึ่งมีหลายวิธีดังนี้
การเลือกตัวอย่างอย่างง่าย(Simple Random Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ(Systematic Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ(Stratified Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multi-Stage Sampling)
การเลือกพื้นที่ตัวอย่าง(Area Sampling)
ฯลฯ
แผนการเลือกตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น
การเลือกตัวอย่างตามความสะดวก(Convenience Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling)
การเลือกตัวอย่างโดยใช้วิจารณญาน(Judgement Sampling)
การทำ Focus Group
การกำหนดขนาดตัวอย่าง
ขนาดตัวอย่างสำหรับการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร (ข้อมูลเชิงปริมาณ)
การกำหนดวิธีการเก็บข้อมูล
งานวิจัยทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่ จะต้องใช้ทั้งข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุติยภูมิ สำหรับวิธีเก็บข้อมูลปฐมภูมิทำได้หลายวิธี วิธีที่นิยมใช้กันทั่วไป คือ
การสังเกตุโดยตรง(Direct Observation)
การส่งไปรษณีย์(Mail)
การเลือกที่จะใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จะจัดส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ให้กลุ่มเป้าหมาย และให้ผู้ตอบจัดส่งแบบสอบถามที่ตอบแล้วคืนมาในซองติดแสตมป์ที่สอดไปด้วย การเก็บข้อมูลวิธีนี้จะเสียค่าใช้จ่ายต่ำ แต่มักจะได้รับคำตอบคืนมาในอัตราต่ำ
การสัมภาษณ์(Interview)
การส่งพนักไปสัมภาษณ์จากกลุ่มเป้าหมายโดยตรง และพนักงานจะเป็นผู้จดคำตอบในแบบสอบถาม วิธีนี้ผู้ถาม (พนักงาน) จะมีโอกาสอธิบายเนื้อหาที่ผู้ตอบสงสัย และจะได้คำตอบรวดเร็ว แต่จะเสียค่าใช้จ่ายสูง
วิธีเก็บข้อมูลแบบอื่น ๆ
การใช้โทรศัพท์ การทอดแบบ (เป็นการนำแบบสอบถามไปให้ผู้ตอบ แล้วนัดวันมารับคืน) การชั่ง ตวง วัด หรือนับ
1. การเตรียมงานสนามหรือการเก็บข้อมูล
2. การทำ Pilot Survey
3. การเก็บข้อมูลหรืองานสนาม
4. การลงรหัสข้อมูล
5. การตรวจสอบข้อมูล
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
7. การเขียนรายงาน
รับทำงานวิจัย บริการงานวิจัย วิจัยตลาด การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
งานวิจัย : ในโลกปัจจุบันมีปัญหาที่เกิดขึ้นมากมายหลายด้าน เช่น ปัญหาด้านการตลาด ปัญหาการแข่งขันทางด้านธุรกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาการเปลี่ยนแปลงในสังคม ฯ ซึ่งเครื่องมือที่จะช่วยในการค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ปัญหาเหล่านั้นก็คือ “การวิจัย” โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์ข้อมูล
สำหรับท่านที่กำลังพบกับปัญหาและต้องการค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ปัญหา หรือท่านที่กำลังศึกษาและต้องทำรายงาน วิจัย วิจัย งานวิจัย การวิจัย โครงงานวิจัย วิทยานิพนธ์ (thesis) ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ รับทำงานวิจัย วิจัยธุรกิจ วิจัยตลาดและผลิตภัณฑ์ รับสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์พื้นที่ ประเมินศักยภาพพื้นที่ ปรึกษาเรา เรามีนักวิชาการที่เชี่ยวชาญในด้านนี้ไว้คอยช่วยเหลือท่าน
ติดต่อสอบถามที่ 💕💕สอบถามวิจัยตลาด 093-8079091, 0961404854
ไลน์แอด @researcherth
https\://line.me/R/ti/p/%40researcherth
SAP 547 RESEARCH
#สำรวจตลาด #วิจัยตลาด #วิจัยราคา #วิจัยสินค้า#surveymarketThailand #researchmarketing#researcherthailand
#sap547research