คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
เจ้าของกระทู้ต้องเข้าใจเกี่ยวกับการพรากผู้เยาว์ก่อนนะครับ
“พราก” ตามคำพิพากษาศาลฎีกาให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง การพาไปหรือแยกเด็กออกไปจากอำนาจปกครองดูแล
ดังนั้น เราจะต้องดูก่อนว่าผู้กระทำความผิดได้มี “การพาไปหรือแยกเด็กออกไปจากอำนาจปกครองดูแลหรือไม่”
จึงจะรู้ได้ว่าฝ่ายชายกระทำผิดฐานพรากผู้เยาว์หรือไม่
ส่วนการที่จะฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรนั้น
สามารถดำเนินการฟ้องศาลขอให้พ่อเด็ก รับเด็กเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย รวมถึงสามารถเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรได้อีกด้วย เมื่อบิดาจดทะเบียนรับรองบุตรแล้ว กฎหมายกำหนดหลักไว้ว่าบิดามารดาต้องอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะคืออายุ 20 ปีบริบูรณ์
“พราก” ตามคำพิพากษาศาลฎีกาให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง การพาไปหรือแยกเด็กออกไปจากอำนาจปกครองดูแล
ดังนั้น เราจะต้องดูก่อนว่าผู้กระทำความผิดได้มี “การพาไปหรือแยกเด็กออกไปจากอำนาจปกครองดูแลหรือไม่”
จึงจะรู้ได้ว่าฝ่ายชายกระทำผิดฐานพรากผู้เยาว์หรือไม่
ส่วนการที่จะฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรนั้น
สามารถดำเนินการฟ้องศาลขอให้พ่อเด็ก รับเด็กเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย รวมถึงสามารถเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรได้อีกด้วย เมื่อบิดาจดทะเบียนรับรองบุตรแล้ว กฎหมายกำหนดหลักไว้ว่าบิดามารดาต้องอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะคืออายุ 20 ปีบริบูรณ์
แสดงความคิดเห็น
อยากรู้เรื่องเกี่ยวกับกฎหมายพากผู้เยาว์ค่ะ